ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะธำรงดุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NongBot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: et, io, it
Kelos omos1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ภาวะธำรงดุล''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Homeostasis) เป็น คือ[[คุณสมบัติ]] ของ [[ระบบเปิด]] (open system) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน[[สิ่งมีชีวิต]] ที่จะทำการควบคุมสิ่งแวดล้อมสภาพภายในของตัวเองตนเองเพื่อการรักษาสเถียรภาพ สภาวะสถานะเสถียรภาพสภาพอย่างคงที่ โดยการปรับ [[สมดุลพลวัต]] (dynamic equilibrium) หลายอย่าง ซึ่งมีกลไกการควบคุมที่มีความสัมพันธ์กันมากมาย ศัพท์คำนี้ถูกกำหนดขึ้นในปี [[พ.ศ. 2475]] โดย [[วอลเตอร์ แคนนอน]] (Walter Cannon) เป็นคำใน [[ภาษากรีก|กรีก]] ''homo'' (มีความหมายว่าเหมือน) และ''stasis'' (มีความหมายว่ายืนอยู่ได้)
 
[[วอลเตอร์ แคนนอน]] (Walter Cannon) นักสรีรวิทยาชาวอเมริกันเป็นผู้บัญญัติศัพท์คำนี้ขึ้นในปี พ.ศ. 2475 เป็นศัพท์ที่มาจาก[[ภาษากรีก]] โดย ''homo'' แปลว่าความเหมือนหรือคล้ายคลึงกัน และ''stasis'' ที่แปลว่าความเสถียร
== ทั่วไป ==
คำจำกัดความนี้บ่อยครั้งใช้ในความหมายของภาวะธำรงดุล [[ชีววิทยา|ทางชีววิทยา]] [[สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์]] (Multicellular organism)ต้องการมีภาวะธำรงดุลของ [[สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ|สิ่งแวดล้อม]] ภายในตัวเองเพื่อการมี [[ชีวิต]]อยู่ได้ [[นักสิ่งแวดล้อม]] หลายคนเชื่อว่าหลักการนี้ใช้กับสิ่งแวดล้อมภายนอกได้ด้วย หลายระบบทาง[[สิ่งแวดล้อม]]เอง หรือ ทาง[[ชีววิทยา]] หรือ ทาง[[สังคม]] เป็นระบบที่ต้องการ ''ภาวะธำรงดุล''ทั้งสิ้น ตรงกันข้ามถ้าระบบไม่สามารถรักษาความสมดุลย์ให้กลับคืนมาใหม่หลังจากถูกทำให้เสียสมดุลย์ ระบบทั้งหมดจะต้องหยุดทำงาน ใน[[ระบบที่ซับซ้อน]] (Complex system) เช่นร่างกายมนุษย์ จะต้องมี ภาวะธำรงดุล เพื่อการรักษาสเถียรภาพ และเพื่อความอยู่รอดระบบเหล่านี้ไม่ใช่ใช้ความอดทนเพื่อที่จะอยู่รอด แต่ต้องเป็นการปรับตัวเองและปรับแต่งสภาพแวดล้อมเพื่อให้เหมาะกับตัวเองด้วย
 
== ความหมายทั่วไป ==
=== คุณสมบัติของภาวะธำรงดุล''(Properties of homeostasis)'' ===
คำจำกัดความนี้มักถูกนำไปใช้ในเชิง[[ชีววิทยา]] เมื่อ[[สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์]]จำเป็นต้องมีสภาพร่างกายที่อยู่ในภาวะธำรงดุล เพื่อที่จะดำรงชีวิตต่อไปได้ ยังเป็นที่เห็นพ้องกันในนักสิ่งแวดล้อมจำนวนมากว่าหลักการนี้สามารถนำไปใช้กับสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ได้ด้วย เนื่องจากมีระบบจำนวนมาก รวมถึงระบบเชิงนิเวศ เชิงชีวะ และเชิงสังคมที่จำเป็นต้องอยู่ในภาวะธำรงดุล ระบบเหล่านี้จะป้องกันไม่ให้เกิดความเปลี่ยนแปลงใดๆ เพื่อรักษาสมดุล เนื่องจากเมื่อระบบนั้นๆ ไม่สามารถรักษาสมดุลไว้ได้ มันจะส่งผลให้ระบบนั้นหยุดทำงานในที่สุด (ซึ่งในสิ่งมีชีวิต นั่นก็คือ ''หยุดมีชีวิต'' หรือตายนั่นเอง)
 
ระบบซับซ้อน อย่างเช่นร่ายกายมนุษย์ จะต้องอยู่ในภาวะธำรงดุลเพื่อที่จะรักษาเสถียรภาพและดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้ ระบบเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องทนต่อสิ่งแวดล้อมภายนอกเพื่อที่จะดำรงชีวิตอยู่ แต่ระบบจะต้องปรับตัวเองและพัฒนาสภาพตนเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมนั้นๆ
 
=== คุณสมบัติของภาวะธำรงดุล''(Properties of homeostasis)'' ===
ระบบที่อยู่ในภาวะธำรงดุลจะแสดงคุณสมบัติหลายอย่างดังนี้:
*พวกมันระบบจะมี [[สเถียรภาพเสถียรภาพยิ่งยวด]](ultrastable): โดยระบบจะมีความสามารถในการทดสอบความผิดเพี้ยนที่ควรจะต้องถูกปรับแต่ง
*[[องค์กร]]ระบบรวมทั้งหมด ทั้ง(ระบบภายใน, ระบบโครงสร้าง และระบบที่ทำหน้าที่) จะช่วยทำให้เกิดการทำหน้าที่ดูแลรักษาสภาวะ [[สมดุลย์สภาวะสมดุล]]
*พวกมันไม่สามารถคาดเดาได้ (ผลลัพท์ของโดยผลลัพธ์ที่คาดจากการกระทำที่เที่ยงตรงบ่อครั้งได้ผลใดๆ มักจะตรงกันข้ามกับสิ่งที่คาดเดา)เกิดขึ้นจริง
 
ตังอย่างตัวอย่างหลักของภาวะธำรงดุลในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีดังนี้:
#*การควบคุมจำนวนน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย นี้รู้จักกันว่าเป็นการควบคุมระบบออสโมซิส(osmoregulation) ซึ่งเกิดขึ้นในไต
#*การกำจัดของเสียที่เกิดจากกระบวนการสร้างและสลาย ซึ่งรู้จักกันในชื่อหรือการขับถ่ายนั่นเอง อันซึ่งเกิดขึ้นโดยภายในอวัยวะขับถ่ายเช่นไตและปอด
#การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย นี้เป็นหน้าที่หลักของผิวหนัง
#*การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอุณหภูมิของร่างกาย อันนี้ซึ่งเป็นหน้าที่หลักของตับและ [[อินสุลิน]]ที่หลั่งโดยตับอ่อนผิวหนัง
*การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ซึ่งเป็นหน้าที่หลักของตับและสาร[[อินสุลิน]]ที่ถูกหลั่งออกมาโดยตับอ่อน
มันสำคัญที่จะสังเกตุว่าขณะที่สิ่งมีชีวิตแสดงภาวะสมดุลย์ สถานะทางสรีรวิทยาของมันไม่มีความจำเป็นที่จะต้องอยู่คงที่ สิ่งที่มีชีวิตมากมายแสดงการกระเพื่อมขึ้นๆลงๆจากภายใน ในรูปแบบของ [[การเต้นของหัวใจ]] (circadian rhythm) ในช่วงเวลา 20 ถึง 28 ชั่วโมง อุลตราไดแอน(ultradian) ในช่วงเวลา <20 ชั่วโมง และอินฟราไดแอน (infradian) ในช่วงเวลา > 28 ชั่วโมง ด้วนเหตุนี้ในภาวะธำรงดุล อุณหภูมิร่างกาย ความดันเลือด อัตราการเต้นของหัวใจ และตัวชี้วัดของกระบวนการสร้างและสลายจะไม่อยู่ในระดับคงที่แต่จะผกผันคาดเดาไม่ได้ตลอดเวลา
 
มันสำคัญที่จะสังเกตุสังเกตว่าในขณะที่สิ่งมีชีวิตนั้นแสดงให้เห็นถึงภาวะสมดุลย์ สมดุลในตัว แต่สถานะทางสรีรวิทยาของมันสิ่งมีชีวิตไม่มีความจำเป็นที่จะต้องอยู่คงที่มีความเสถียร สิ่งที่มีชีวิตมากมายหลายชนิดแสดงการกระเพื่อมขึ้นๆลงๆจากให้เห็นความเปลี่ยนแปลงภายใน ร่างกายในรูปแบบของ [[การเต้นของหัวใจ]] (circadian rhythm) ในช่วงเวลาที่ร่างกายทำงานมา 20 ถึง 28 ชั่วโมง อุลตราไดแอน(ultradian) ในเดียนช่วงเวลาน้อยกว่า <20 ชั่วโมง และอินฟราไดแอน (infradian) ฟราเดียนในช่วงเวลา >มากกว่า 28 ชั่วโมง ด้วนด้วยเหตุนี้แม้ว่าร่างกายจะอยู่ในภาวะธำรงดุล แต่อุณหภูมิของร่างกาย ความดันเลือดโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ และตัวชี้วัดของกระบวนการสร้างและสลายจะไม่อยู่ในระดับคงที่ไปตลอดแต่จะผกผันและคาดเดาไม่ได้อยู่ตลอดเวลา
== ดูเพิ่ม ==
* [[Acclimatization]]
* [[Biological rhythm]]
* [[กระบวนการสร้างและสลาย]]
* [[Apoptosis]]
* [[Senescence|Aging]]
* [[สมดุล]]
* [[ออสโมซิส]]
* [[Self-organization]]
* [[ไซเบอร์เนติกส์]]
 
{{โครงชีววิทยา}}