ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอเพนซอร์ส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''โอเพนซอร์ซ''' หรือ '''โอเพนซอร์ส''' <ref>โอเพนซอร์ซ สะกดตามการถอดศัพท์ราชบัณฑิตยสถาน ขณะที่ โอเพนซอร์ส สะกดตาม[http://www.nectec.or.th/rd/rd-opensource-th.html ศูนย์เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมแห่งชาติ] </ref>(open source) คือวิธีการในการออกแบบ พัฒนา และแจกจ่ายสำหรับต้นฉบับของสินค้าหรือความรู้ โดยเฉพาะ[[ซอฟต์แวร์]] โดยโอเพนซอร์ซถูกพิจารณาว่าเป็นทั้งรูปแบบหนึ่งในการออกแบบ และแผนการในการดำเนินการ โดยโอเพนซอร์ซเปิดโอกาสให้บุคคลอื่นนำเอาระบบนั้นไปพัฒนาได้ต่อไป
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เก็บกวาด}}
[[ภาพ:Opensource.gif|thumb|right|200px|ตราโอเพนซอร์ซ ของ Open Source Initiative (OSI)]]
 
นอกเหนือจากด้านซอฟต์แวร์คำว่าโอเพนซอร์ซยังคงเริ่มนำมาใช้ในส่วนของ[[ไบโอเทคโนโลยี]]
'''โอเพนซอร์ซ''' หรือ '''โอเพนซอร์ส''' (open source) คือการพัฒนาระบบใดระบบหนึ่งทางด้านคอมพิวเตอร์ด้วยเงื่อนไขที่ผู้สร้างสรรค์หรือผู้คิดค้นไม่ถือเอาสิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการพัฒนาระบบนั้น ๆ พร้อมทั้งเปิดเผยแหล่งต้นกำเนิดของระบบนั้น เช่น [[ซอร์สโค้ด]] หรือความเป็นมาทางด้านเทคนิคของการพัฒนาระบบดังกล่าว เพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลอื่นนำเอาระบบนั้น ๆ ไปพัฒนาได้ต่อไป โดยมีเงื่อนไขทางกฎหมายบางประเภท เช่น [[สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู]] (จีพีแอล) หรือ [[สัญญาอนุญาตแจกจ่ายซอฟต์แวร์ของเบิร์กลีย์]] (บีเอสดี) เป็นต้น
 
[[หมวดหมู่:การเผยแพร่== ซอฟต์แวร์|โอเพนซอร์ซ]] ==
'''ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ''' (open source software - OSS) คือ ซอฟต์แวร์ที่เปิดแผยหลักการหรือแหล่งที่มาของเทคโนโลยีของซอฟต์แวร์นั้นให้บุคคลภายนอกได้ใช้ ภายใต้เงื่อนไขบางประการที่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้ทำการแก้ไข ดัดแปลงและ เผยแพร่โปรแกรมต้นฉบับ (ซอร์สโค้ด) ได้ภายใต้เงื่อนไขทางข้อตกลงทางกฎหมาย เช่น จีพีแอล หรือ บีเอสดี ซึ่งปัจจุบันมีการกำหนดโดยกลุ่มผู้กำหนดโอเพนซอร์ซที่วางข้อกำหนดคำนิยาม 10 ประการในการกำหนดว่าเงื่อนไขที่เกี่ยวกับโอเพนซอร์ซ<ref>http://www.opensource.org/docs/osd</ref><ref>http://www.rosenlaw.com/oslbook.htm</ref> คือ
{{บทความหลัก|ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ}}
# เงื่อนไขจะต้องไม่จำกัดผู้หนึ่งผู้ใดในการจำหน่ายหรือการจ่ายแจกซอฟต์แวร์ให้เป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของซอฟต์แวร์แบบแยกส่วนที่ประกอบด้วยซอฟต์แวร์จากหลาหลายแหล่ง และจะต้องไม่มีข้อกำหนดใด ๆ ที่เกี่ยวกันกับค่าใช้สิทธิหรือค่าสิทธิใด ๆ ในการจำหน่ายซอฟต์แวร์นั้น กล่าวคือให้มีการจ่ายแจกได้อย่างไม่มีการคิดค่าตอบแทน
# โปรแกรมนั้นจะต้องเผยแพร่โปรแกรมต้นฉบับ (ซอร์สโค้ด) และจำต้องยินยอมให้มีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับได้เช่นเดียวกันกับโปรแกรมที่อยู่ในรูปของการแปลงเป็นโปรแกรมที่ใช้งานได้แล้ว โดยหากแม้ไม่สามารถนำสินค้านั้นแจกจ่ายได้พร้อมโปรแกรมต้นฉบับ ก็จำต้องแหล่งแห่งที่อันเป็นสาธารณะที่สามารถเข้าถึงโปรแกรมต้นฉบับ ซอร์สโค้ดได้โดยปราศจากค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนอื่นใด ทั้งนี้โปรแกรมต้นฉบับนั้นจะต้องอยู่ในรูปแบบที่นักโปรแกรมสามารถที่จะแก้ไขได้โดยจำต้องปราศจากซึ่งการเขียนโปรแกรมต้นฉบับในลักษณะที่เป็นการสับสนโดยเจตนา รวมทั้งต้องไม่มีลักษณะของโครงสร้างการทำงานของโปรแกรมต้นฉบับที่จำต้องมีตัวแปลภาษาเฉพาะ (translator) หรือมีส่วนที่ต้องนำเข้าสู่โปรแกรมในรูปแบบของโปรแกรมที่แปลงสภาพแล้ว (preprocessor)
# เงื่อนไขจะต้องยินยอมให้สามารถทำการพัฒนาต่อยอดได้ ภายใต้เงื่อนไขการจ่ายแจกเช่นเดียวกันกับเงื่อนไขของโปรแกรมฉบับเริ่มต้น
# เงื่อนไขอาจจะวางข้อกำหนดในการจำกัดเผยแพร่โปรแกรมต้นฉบับ ฉบับที่แก้ไขแล้วได้ต่อเมื่อเงื่อนไขนั้นได้ยินยอมให้มีการแจกจ่ายแพตช์ไฟล์ (patch file) พร้อมโปรแกรมต้นฉบับเพื่อประโยชน์ในการแก้ไขโปรแกรมนั้นในเวลาทำการสร้างโปรแกรม ทั้งเงื่อนไขจำต้องยินยอมให้มีการแจกจ่ายโปรแกรมนั้นที่ได้รับการแก้ไขโปรแกรมต้นฉบับได้ แต่เงื่อนไขนั้นอาจจะกำหนดให้โปรแกรมฉบับต่อยอดใช้ชื่อที่แตกต่างหรือใช้รุ่นที่แตกต่างจากโปรแกรมฉบับเริ่มต้นก็ได้
# เงื่อนไขจะต้องไม่จำกัดเฉพาะบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใด ๆ
# เงื่อนไขต้องไม่จำกัดการใช้งานของโปรแกรมในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งอันเป็นการเฉพาะ
# เงื่อนไขที่กำหนดจะต้องใช้กับทุกคนที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมนั้น
# สิทธิใด ๆ ของโปรแกรมนั้นจะต้องไม่มีเงื่อนไขที่เฉพาะเจาะจงกับสินค้าหนึ่งสินค้าใด
# เงื่อนไขต้องไม่กำหนดอันเกี่ยวกับข้อจำกัดในการใช้ร่วมกันกับโปรแกรมอื่น เช่นกำหนดให้ต้องใช้โปรแกรมดังกล่าวกับโปรแกรมแบบโอเพนซอร์ซเท่านั้น
# ต้องไม่มีข้อกำหนดใด ๆ ในเงื่อนไขที่กำหนดให้ใช้เทคโนโลยีของใครหรือเทคโนโลยีแบบใดเป็นการเฉพาะ
 
[[ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ]] เริ่มต้นจากกการเคลื่อนไหวภายใต้ชื่อซอฟต์แวร์ฟรี (free software) ในช่วง [[พ.ศ. 2526]] จนกระทั่งในปี 2531 คำว่าซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซได้ถูกนำมาใช้แทนคำว่า "ฟรี" เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจและให้ความรู้สึกสบายใจต่อทั้งผู้ใช้และผู้พัฒนา รวมถึงคำว่า ฟรี ในลักษณะของคำว่าเสรีนอกเหนือจากคำว่าฟรีในลักษณะไม่เสียค่าใช้จ่าย<ref>[http://web.archive.org/web/20060423094434/www.opensource.org/advocacy/faq.html "Frequently Asked Questions". Open Source Initiative.]</ref> ผู้ใช้งานรวมถึงผู้พัฒนาสามารถนำ[[ซอฟต์แวร์]]มาใช้งาน แก้ไข แจกจ่าย โดยสามารถนำมาปรับปรุงทั้งในลักษณะส่วนตัว หรือในหน่วยงานเอกชนได้ ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซอนุญาตให้ทุกคนสามารถนำซอฟต์แวร์ไปพัฒนา รวมถึงวางขายและทำการตลาด ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซที่เป็นที่รู้จักกันดีได้แก่ [[เพิร์ล]] [[ไฟร์ฟอกซ์]] [[ลินุกซ์]] [[อะแีพชี]] ลักษณะเงื่อนไขทางลิขสิทธิ์ที่นิยมได้ [[สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู]] (จีพีแอล) และ [[สัญญาอนุญาตแจกจ่ายซอฟต์แวร์ของเบิร์กลีย์]] (บีเอสดี) จากรายงานของกลุ่มสแตนดิชประมาณการประหยัดงบประมาณจากการใช้งานซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซได้ 6 หมื่นล้า้นเหรียญสหรัฐต่อปี<ref>[http://standishgroup.com/newsroom/open_source.php Standish Newsroom - Open Source.] Press release. 2008-04-16</ref>
== อ้างอิง ==
{{reflist}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ]]
* [[สัญญาอนุญาตโอเพนซอร์ซ]]
 
== อ้างอิง ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://www.tosf.org/ สมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์ซแห่งประเทศไทย]
* [http://www.thaiopensource.org/ ThaiOpensource.org] เว็บไซต์ให้ความรู้ เผยแพร่และสนับสนุนการใช้งานโอเพนซอร์ซ โดย[[สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ]] (ซิป้า)
* [http://www.tosdn.com/ TOSDN - เครือข่ายพัฒนาโอเพนซอร์ซแห่งประเทศไทย] รวบรวมซอร์สโค้ดโอเพนซอร์ซและแจกฟรี ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ
* [http://opensource.thai.net/ opensource.thai.net]
* [http://linux.thai.net/ Thai Linux Working Group] ชุมชนโอเพนซอร์ซ/ซอฟต์แวร์เสรีรุ่นบุกเบิกของประเทศไทย
* [http://www.thaiopengames.co.cc/ Thai Open Games] องค์การเกมโอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย
* [http://linux.thai.net/~thep/catb/cathedral-bazaar/ มหาวิหารกับตลาดสด] บทความชุด สำรวจวัฒนธรรมโอเพนซอร์ซ ทำไมโครงการซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซที่ประสบความสำเร็จ จึงประสบความสำเร็จเช่นนั้น แปลจาก The Cathedral and the Bazaar ของ ESR
** [http://www.esnips.com/doc/4c9ca1a5-f432-4133-ab92-4a7d507c7e76/The-Cathedral-and-The-Bazaar มหาวิหารและตลาดสด] บทความเรื่อง "The Cathedral and The Bazaar" ในรูปแบบไฟล์ .pdf โดย วิรัช เหมพรรณไพเราะ ซึ่งเรียบเรียงใหม่จากฉบับแปลไทยของคุณเทพพิทักษ์ การรุญบุญญานันท์และคณะ
* [http://kitty.in.th/index.php?room=article&id=96 มาเป็นแฮ็กเกอร์กันเถอะ!] - บทความเกี่ยวกับ [[วัฒนธรรมแฮ็กเกอร์]] จุดกำเนิดของวัฒนธรรมซอฟต์แวร์เสรี โดย กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ้างอิงบางส่วนจาก ''How to become a Hacker'' ของ Eric Steven Raymond (ESR)
* [http://linux.thai.net/~thep/catb/homesteading/ ลงหลักปัญญาภูมิ] - สำรวจจารีตปฏิบัติของแฮ็กเกอร์ ในเรื่องกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา วิเคราะห์และตรวจสอบ "วัฒนธรรมแห่งการให้" แปลจาก Homesteading the Noosphere โดย ESR
* [http://linux.thai.net/~thep/etc-trans/hacking.html วิธีทำงานกับซอฟต์แวร์เสรี] - วัฒนธรรมการทำงานของอาสาสมัครซอฟต์แวร์เสรี แปลจาก ''Working on Free Software'' ของ Havoc Pennington
* [http://thep.blogspot.com/2006/12/thailand-foss-retrospects.html ทบทวนซอฟต์แวร์เสรีเมืองไทย] - ข้อสังเกตเงื่อนไขและอุปสรรคของวงการซอฟต์แวร์เสรีในประเทศไทย โดย เทพพิทักษ์ การุญบุญญานันท์
 
{{Software distribution}}
[[หมวดหมู่:โอเพนซอร์ซ| ]]
{{โครง}}
[[หมวดหมู่:การเผยแพร่ซอฟต์แวร์|โอเพนซอร์ซ]]
[[หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์เสรี]]
 
[[af:Ope-inhoud]]