ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 3:
การศึกษาร่องรอยเรียกว่า [[ร่องรอยวิทยา]] ([[ichnology]]) โดยวิชาที่ศึกษาซากดึกดำบรรพ์ร่องรอยเรียกว่า [[Paleoichnology]] และวิชาที่ศึกษาร่องรอยของสิ่งมีชีวิตในปัจจุบันเรียกว่า [[Neoichnology]] โดยการศึกษารูปร่างลักษณะของร่องรอยต่างๆโดยหวังที่จะทำให้ทราบถึงกิจกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต ทั้งนี้สิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันอาจทำให้เกิดร่องรอยที่คล้ายกันได้ การจำแนกซากดึกดำบรรพ์ร่องรอยจึงเป็นสิ่งยากและอาจแตกต่างไปจากการจำแนกทางอนุกรมวิธานของซากดึกดำบรรพ์ซากเหลือ ([[body fossils]])
 
เอดอล์ฟ เซลาสเชอร์ ([[Adolf Seilacher]]) เป็นผู้ศึกษาและจำแนกชนิดของซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย โดยเอดอล์ฟ เซลาสเชอร์ ได้สังเกตุสังเกตเห็นร่องรอยการกระทำของสัตว์ออกเป็น 5 กลุ่มตามพฤติกรรมของสัตว์ ดังนี้
* คิวบิชเนีย ([[Cubichnia]]) เป็นร่องรอยที่ปรากฎปรากฏบนพื้นผิวที่อ่อนนุ่ม
* โดมิชเนีย ([[Domichnia]]) เป็นร่องรอยโครงสร้างที่อยู่อาศัยของสัตว์ เช่น รูที่อยู่อาศัย
* โฟดินิชเนีย([[Fodinichnia]]) เป็นร่องรอยการหาอาหารของสัตว์ที่ปรากฎปรากฏบนพื้นตะกอน
* แพสคิชเนีย ([[Pascichnia]]) เป็นร่องรอยการหาอาหารของสัตว์ที่ปรากฎปรากฏบนพื้นตะกอน เฉพาะสัตว์เคี้ยวเอื้องกินหญ้าตามพื้นดินและได้ทิ้งร่องรอยไว้
* เรปิชเนีย ([[Repichnia]]) เป็นร่องรอยการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งของสัตว์ ปกติมักเป็นแนวเส้นตรงหรืออาจโค้งได้เล็กน้อย เช่นการเคลื่อนที่ของสัตว์ที่มีระยางเป็นข้อเป็นปล้อง ([[arthopod]]) และของสัตว์มีกระดูกสันหลัง