ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Littlebig (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 49:
==การบริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม==
สถาบันฯ จัดให้มีการบริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมต่างๆ อันเกี่ยวของกับภาษา วัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์ เช่น
===* สวนศิลาจารึก===
===* แผนที่ภาษาและวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุ์===
สถาบันฯ ได้คัดเลือกศิลาจารึกที่บันทึกความรู้ด้านต่างๆ ของ มนุษยชาติในอารยธรรมโบราณมาจัดแสดงไว้ในบริเวณโถงกลางแจ้ง ภายในอาคารภาษาและวัฒนธรรมสยามบรมราชกุมารี องค์ความรู้ ที่ปรากฏอยู่บนศิลาจารึกนั้นแสดงถึงความหลากหลายของภาษาที่บันทึก มีอักษรภาพที่ให้ความรู้ด้านวัฒนธรรมการปลูกข้าว วัฒนธรรม การตีทอง การดื่มเบียร์ การทำหม้อและมีบทสนทนาของชาวบ้านชาวอียิปต์โบราณ มีคำสดุดีนักกีฬาและรายชื่อนักเรียนชาวต่างประเทศ ในอารยธรรมกรีก มีหลักฐานการคำนวณเวลาและการทำปฏิทินของอารยธรรมมายา ในส่วนอารยธรรมตะวันออกมีจารึกการเสี่ยงทายบน กระดองเต่าของชาวจีนและจารึกที่แสดงลักษณะการปกครองบ้านเมืองของไทยสมัยโบราณ เป็นต้น
===* พิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม===
 
===* ศูนย์การแปลและบริการด้านภาษา===
===แผนที่ภาษาและวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุ์===
===* ศูนย์ศึกษาและฟื้นฟูภาษา-วัฒนธรรมในภาวะวิกฤต===
(รอใส่ข้อมูล)
===* ศูนย์ข้อมูลวัฒนธรรมดนตรีไทยและเอเชียอาคเนย์===
 
===* ศูนย์บริการวิชาการภาษาและวัฒนธรรมเอเชียเพื่อพัฒนา ณ อาคารเรือนไทย (ระเบียบ คุณะเกษม)===
===พิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม===
===* สำนักงานบริการข้อมูลภาษาและวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย์===
พิพิธภัณฑ์นี้จัดตั้งขึ้นนี้เป็นแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ทั้งในแง่ภูมิศาสตร์,อารยธรรมและการสาธารณสุขสำหรับประชาชนเป็นแห่งแรกในประเทศ โดยสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบทและสถาบันพัฒนาสาธารณสุขอาเซียนได้ร่วมมือกันจัดทำโครงการพิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรมและการสาธารณสุขขึ้น เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ อารยธรรมและการสาธารณสุขของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ซึ่งถือว่าเป็นภูมิภาคที่มีความสำคัญยิ่งภูมิภาคหนึ่ง เนื่องจากเป็นแหล่งรวมทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพที่เกื้อหนุนให้ประชากรในภูมิภาคเป็นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคของระบบเศรษฐกิจโลก นอกเหนือจากนั้นยังเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษยชาติเผ่าพันธุ์ต่างๆ ก่อให้เกิดวัฒนธรรม อารยธรรมอันเป็นพื้นฐานของความเจริญรุ่งเรืองที่สืบทอดกันมาแต่โบราณจนถึงทุกวันนี้
===* ห้องสมุดสถาบันฯ===
 
===สำนักงานบริการข้อมูลภาษาและวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย์===
เป็นหน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลภาษาและวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ รวมทั้งประเทศไทย โดยข้อมูลที่ให้บริการในศูนย์นี้มีทั้งที่เป็นหนังสือ เอกสารสิ่งพิมพ์ สไลด์ ภาพ แถบเสียง วีดีทัศน์ ทั้งที่เป็นภาษาไทย อังกฤษ ฝรั่งเศส และภาษาอื่น ๆ เช่น ภาษาลาว เวียดนาม มาเลเซีย และเขมร เป็นต้น
 
===ห้องสมุดสถาบันฯ===
ห้องสมุดของสถาบันฯ เป็นแหล่งสะสมทรัพยากรสารสนเทศทางด้านภาษา วัฒนธรรม และการพัฒนาเพื่อส่งเสริมการเรียน การสอน และการวิจัยแก่คณาจารย์ นักวิจัย นักศึกษาของสถาบันฯ และนักศึกษาทั่วไป รวมทั้งประชาชนผู้สนใจ ห้องสมุดของสถาบันฯ มีหนังสือทั้งที่เป็นตำรา ผลงานวิจัย วารสารและสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ประมาณ 15,000 เล่ม โดยเฉพาะ ตำราวิชาการและวารสารทางสาขาภาษาศาสตร์ ภาษาเอเชียอาคเนย์ และภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ที่สมบูรณ์แห่งหนึ่งในประเทศไทย ห้องสมุดได้พัฒนาระบบบริการสารนิเทศผ่านระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยมหิดล สามารถสืบ ค้นทรัพยากรสารสนเทศที่มีบริการบนเครือข่าย Internet
 
===ศูนย์การแปลและบริการด้านภาษา===
ศูนย์การแปลและบริการด้านภาษา ริเริ่มโดยหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา วิชาเอกการแปล
มีภารกิจในการสร้างงานวิชาการด้านการแปลได้แก่ อบรมการแปล ดำเนินงานวิจัย ผลิตผลงานแปล สร้างเครือข่ายนักแปล รวมทั้งขยายขอบเขตความร่วมมือทางวิชาการด้านการแปลกับสถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ นอกจากนี้ยังให้บริการแปลเอกสารเป็นภาษาต่างๆ รวมทั้ง ตรวจแก้/เรียบเรียงด้านภาษาและการแปล ด้วยอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญภาษาต่างๆ เช่น มาเลย์ พม่า เวียดนาม ลาว จีน ญี่ปุ่น อาหรับ อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน เป็นต้น
 
===ศูนย์ศึกษาและฟื้นฟูภาษา-วัฒนธรรมในภาวะวิกฤต===
สถาบันฯ ได้จัดตั้งศูนย์ศึกษาและฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต(The Recource Center for Revitalization and Maintenance of Language and Cultures) เพื่อเป็นแหล่งของการศึกษา เรียนรู้ ฟื้นฟูและแลกเปลี่ยนวิธีการในการศึกษาและวิธีการในการฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชนต่างๆ ในลักษณะสหวิทยาการ สำหรับนักวิชาการทั้งในและนอกประเทศรวมทั้งชุมชนต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เบื้องต้นคือการศึกษาและบันทึกภาษาและวัฒนธรรม อาทิ การวิจัยและอธิบาย ระบบภาษาการศึกษานอกสถานภาพของภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชนในพื้นที่ต่างๆ และในกลุ่มอายุต่างๆ การสร้างพจนานุกรม การศึกษารวบรวมนิทานพื้นบ้าน เพลงพื้นบ้าน ฯลฯ ให้ได้องค์ความรู้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ก่อนที่จะเสื่อม สลายไป และวัตถุประสงค์ขั้นถัดมาคือการร่วมมือกับชุมชนในการดำเนินกิจกรรมเพื่อฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจและความ พร้อมของแต่ละชุมชน โดยจัดประชุมปฏิบัติการ ฝึกอบรมและดำเนินกิจกรรมด้านต่างๆ พร้อมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่ผลงานจัดประชุม ระดับท้องถิ่น ระดับชาติและนานาชาติ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาด้านวิธีการศึกษาและวิธีการฟื้นฟูภาษาแก่ชุมชนที่สนใจการจัดทำตัวเขียน การฝึกเขียน การจัดทำหนังสือในภาษาพื้นบ้าน การจัดหลักสูตรท้องถิ่น การจัดศูนย์การเรียนรู้ชุมชน เป็นต้น
 
===ศูนย์ข้อมูลวัฒนธรรมดนตรีไทยและเอเชียอาคเนย์===
ศูนย์ข้อมูลวัฒนธรรมดนตรีไทยและเอเชียอาคเนย์ (Thai and Southeast Asia Music Culture Information Center (TSMCIC) เป็นหน่วยงานหนึ่งของสถาบันฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิจัย เผยแพร่และอนุรักษ์วัฒนธรรมดนตรีไทย ดนตรีภาคต่างๆ ดนตรีกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย และในกลุ่มประเทศเอเชียอาคเนย์ แหล่งรวมข้อมูลเพลงไทยของอาจารย์ประสิทธิ์ ถาวร ศิลปินแห่งชาติ สาขาดนตรีไทย ประจำปี พ.ศ. 2531 โดยทางศูนย์ฯ ได้รวบรวมจัดทำดัชนี สอบค้นประวัติ ถ่ายสำเนาลงเป็นระบบดิจิตอล และบันทึกลงบนฐานข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยังได้คัดผลงานบันทึกเสียงของอาจารย์ประสิทธิ์ ถาวร ออกมาเผยแพร่ในรูปแบบของซีดี และเทปคาสเซ็ท นอกจากนั้น ศูนย์ฯ ยังได้จัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่น่าสนใจ เช่น ร้องรำทำเพลงที่เรือนไทย ไหว้ครูดนตรีไทย ค่ายวัฒนธรรมฤดูร้อน อบรมเกณฑ์มาตรฐานดนตรีไทย นิทรรศการหมุนเวียนดนตรีไทย และจัดรายการ “เพลงไทยไพเราะ” วิทยุศาลายาพัฒนา เอฟเอ็ม 90.75 MHz คลื่นวิทยุชุมชน ออกอากาศทุกวันอาทิตย์ เวลา14.0
 
===ศูนย์บริการวิชาการภาษาและวัฒนธรรมเอเชียเพื่อพัฒนา ณ อาคารเรือนไทย (ระเบียบ คุณะเกษม)===
เรือนไทยมหิดล อยู่ในความดูแลรักษาของสถาบันฯ ซึ่งนอกจากจะเปิดให้บุคคลทั่วไปได้เข้ามาเยี่ยมชมและท่องเที่ยว พักผอนหย่อนใจแล้ว ยังให้บริการด้านการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้วิถีไทยและอนุรักษ์ พัฒนาฟื้นฟูภาษา วัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์ ให้บริการสถานที่ประชุม อบรม สัมมนาระดับชุมชนจนถึงนานาชาติ เสริมศักยภาพทางภาษาและวัฒนธรรมโดยมีหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้น รวมถึงเผยแพร่ความรู้ด้านวิชาการนำเสนอผลิตภัณฑ์ชุมชนและสื่อทางการศึกษา
 
==เกี่ยวกับสถาบันฯ==