ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชุมนุมเจ้าพระฝาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ขอ {{ต้องการอ้างอิง}} หน่อย หาอ้างอิงมาใส่ไม่เจอ
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ช่วยดูหน่อย}}
 
[[ภาพไฟล์:Phra Fang.jpg|thumb|การแสดงแสงสีเสียง "ประวัติพระพุทธรูปพระฝางทรงเครื่อง" ชุมนุมเจ้าพระฝางเป็นชุมนุมไทยสุดท้ายหลัง[[กรุงศรีอยุธยา]]เสียแก่[[ราชอาณาจักรพม่า|พม่า]] ที่[[พระเจ้าตากสินมหาราช]]ทรงทำลายได้ ทำให้แผ่นดินกลับรวมเป็นหนึ่งอีกครั้ง]]
 
'''ชุมนุมเจ้าพระฝาง''' เป็นชุมนุมอิสระที่แยกออกจากอำนาจ[[กรุงธนบุรี]] หลังกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า ในปี [[พ.ศ. 2310]] โดยมีผู้นำชุมนุมเป็นพระสงฆ์ คือ '''พระพากุลเถระ (มหาเรือน)''' พระสังฆราชาแห่ง[[วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ|เมืองสวางคบุรี (ฝาง)]]
เส้น 66 ⟶ 65:
ในวันนั้น ให้นิมนต์พระสงฆ์เมืองเหนือมาพร้อมกันหน้า[[พระที่นั่ง]] แล้วให้หาขุนนางผู้ใหญ่ผู้น้อยมาประชุมพร้อมกัน จึงดำรัสปรึกษาว่า พระสงฆ์บรรดาอยู่ฝ่ายเหนือนี้เป็นพรรคพวกอ้ายเรือนพระฝางทั้งสิ้น ย่อมถืออาวุธและปืนรบศึกฆ่าคนปล้นเอาทรัพย์สิ่งของ กินสุราเมรัยส้องเสพอนาจารด้วยหญิง ต้องจตุปาราชิกาบัติต่าๆ ขาดจากสิกขาบทในพระพุทธศาสนาล้วนลามก จะละไว้ให้คงอยู่ในสมณเพศฉะนี้มิได้ อนึ่ง พระสงฆ์ฝ่ายเหนือฝ่ายใต้ ก็จะแปลกปลอมปะปนกันอยู่มิรู้ว่าองค์ใดดีองค์ใดชั่ว จะได้ไหว้นบเคารพสักการบูชาให้เป็นเนื้อนาบุญ ได้มีผลานิสงส์แก่เราท่านทั้งปวง ให้พระสงฆ์ให้การไปตามสัตย์ตามจริง ถ้าได้ผิดในจตุ[[ปาราชิก]]แต่ประการใดประการหนึ่ง จะพระราชทานผ้า[[คฤหัสถ์]]ให้ผลัดสึกออกทำ[[ราชการ]] ที่ไม่รับนั้น จะให้ดำน้ำพิสูจน์สู้นาฬิกาสามกลั้น แม้ชนะนากาจะให้เป็นอธิการและพระครูราชาคณะฝ่ายเหนือ โดยสมควรแก่คุณธรรมที่รู้ แม้แพ้แก่นาฬิกาจะให้ลงพระราชอาญาเฆี่ยนตีแล้วสักข้อมือไว้มิให้บวชได้อีก แม้เสมอนาฬิกาจะถวายผ้าไตรให้บวชใหม่ แต่ถ้าเดิมไม่รับ ครั้นจะให้ลงดำน้ำพิสูจน์กลับคืนคำว่าได้ทำผิด จะให้ลงพระราชอาญาประหารชีวิตเสีย
 
[[ภาพไฟล์:หาดแม่น้ำน่านหน้าวัดพระฝาง..jpg|thumb|หาดแม่น้ำน่าน หน้าวัดพระฝาง ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5]]
 
อนึ่ง เมื่อพระสงฆ์จะลงดำน้ำนั้น ให้ตั้งศาลากั้นม่านคาดเพดานผ้าขาว