ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ็องรี ดูว์น็อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YurikBot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: lt
cat
บรรทัด 2:
 
[[ภาพ:Henry_Dunant-young.jpg|thumb|right|อังรี ดูนังต์]]
'''อังรี ดูนังต์''' (Henri Dunant) ชื่อเต็ม ฌอง อังรี ดูนังต์ (Jean Henri Dunant) (เกิด [[8 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1828]] &ndashmdash; ตาย [[30 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1910]]) เป็นนักธุรกิจ และนักช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ เขาเป็นผู้ให้กำเนิด[[สภากาชาดสากล]] และได้รับ[[รางวัลโนเบล]]สาขาสันติภาพ ในปี [[ค.ศ. 1901]] ร่วมกับ [[เฟรเดอริก พาสซี]] ([[:en:Frederic Passy|en:Frédéric Passy]])
 
นายอังรี ดูนังต์ เป็นผู้เคร่งศาสนา โดยมี[[ความเชื่อตามแนวทางของคาลวิน]] ([[:en:Calvinism]]) และตั้งมั่นในหลักการ "จงรักเพื่อนบ้านของท่าน" ("Love thy neighbor") เขาได้เดินทางไปทั่ว[[ทวีปยุโรป|ยุโรป]]เพื่อบรรยายถึงความชั่วร้ายเรื่อง[[ความเป็นทาส]] ([[:en:slavery]]) ในปี [[ค.ศ. 1859]] ระหว่างอยู่ที่[[ประเทศอิตาลี]] เขาได้ไปที่สนามรบของ[[สงครามแห่งโซลเฟริโน]] ([[:en:Battle of Solferino]]) และได้เห็นทหารที่ได้รับบาดเจ็บนับพันคน ถูกปล่อยทิ้งรอความตายในสนามรบตามยถากรรม โดยไม่ได้รับแม้แต่การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ที่อาจรักษาชีวิตของคนเหล่านี้ได้ หลังจากที่เขากลับถึง[[กรุงเจนีวา]] เขาได้เขียนบทความเกี่ยวกับประสบการณ์ครั้งนี้ของเขา ในชื่อ ''Un Souvenir de Solferino'' (ความทรงจำจากประเทศอิตาลี) ซึ่งได้ตีพิมพ์ในวันที่ [[8 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1862]] ในบทความเขาได้พยายามผลักดันให้มีการจัดตั้ง เครือข่ายนานาชาติของอาสาสมัครเพื่อบรรเทาทุกข์ขึ้น หนังสือของเขาได้รับความสนใจจาก [[สภาบริหารประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] ([[:en:Switzerland's Federal Council]]) และส่งผลให[[้ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]]สนับสนุนให้มีการประชุมสัมมนานานาชาติขึ้นในปี [[ค.ศ. 1863]] เพื่ออภิปรายถึงแนวความคิดของดูนังต์ที่เขาได้เขียนไว้ในบทความ ''เก้าบทความ'' (''Nine Articles'') มีประเทศเข้าร่วมการประชุมสัมนาในวันที่ [[22 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1864]] ทั้งหมด 16 ประเทศ และในจำนวนนั้น 12 ประเทศได้ให้การสนับสนุนในเนื้อหา ซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็น ''สภากาชาดสากล'' (International Committee of the Red Cross) และ[[สนธิสัญญากรุงเจนีวาฉบับแรก]] ([[:en:First Geneva Convention]])
 
[[ภาพ:Jean_Henri_Dunant.jpg|thumb|right|อังรี ดูนังต์ ในวัยชรา]]
ช่วงหลายปีหลังจากนั้น ดูนังต์ได้เขียนบทความเกี่ยวกับการปลดอาวุธ และการตั้ง[[ศาลระหว่างประเทศ]] เพื่อแก้ปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างประเทศ เขาได้ละเลยการงานส่วนตัวจนต้องตกเป็นหนี้สิน ประสบกับความยากจน และได้หายหน้าหายตาไป
 
นอกจากนี้ อังรี ดูนังต์ ยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มฟรีเมสันรี ([[:en:freemasonry]])
บรรทัด 22:
* [http://www.nobel-winners.com/Peace/henry_dunant.html Henri Dunant image & some info]
 
[[หมวดหมู่:นักสิทธิมนุษยชน]]
[[Category:กาชาด]]
[[หมวดหมู่:บุคคลสวิส]]
[[Category:ผู้ได้รับรางวัลโนเบล]]
[[Categoryหมวดหมู่:กาชาด]]
[[Categoryหมวดหมู่:ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ]]
 
[[bg:Анри Дюнан]]