ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเป็นโลหะ (ดาราศาสตร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ในทาง[[ดาราศาสตร์]]และ[[จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ]] '''ความเป็นโลหะ''' ({{lang-en|metallicity}}) ของวัตถุคือค่าสัดส่วนองค์ประกอบของสสารในวัตถุนั้นที่มีส่วนประกอบของธาตุทางเคมีมากกว่า[[ไฮโดรเจน]]และ[[ฮีเลียม]] ทั้งนี้ [[ดาวฤกษ์]]ซึ่งเป็นวัตถุที่สามารถมองเห็นได้ชัดในเอกภพมักประกอบด้วยไฮโดรเจนกับฮีเลียม นักดาราศาสตร์จึงนิยมเรียกส่วนที่เหลือ (ในที่ว่างดำมืด) ว่าเป็น "โลหะ" เพื่อความสะดวกในการบรรยายถึงส่วนที่เหลือทั้งหมด<ref>John C. Martin. [http://etacar.umn.edu/~martin/rrlyrae/metals.htm "What we learn from a star's metal content"]. New Analysis RR Lyrae Kinematics in the Solar Neighborhood. http://etacar.umn.edu/~martin/rrlyrae/metals.htm. เก็บข้อมูลเมื่อ 2005.</ref> จากคำนิยามนี้ [[เนบิวลา]]ซึ่งมีส่วนประกอบของ[[คาร์บอน]] [[ไนโตรเจน]] [[ออกซิเจน]] และ[[นีออน]] อยู่อย่างล้นเหลือ จึงถูกเรียกว่าเป็น "วัตถุอุดมโลหะ" ในทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ แม้ว่าองค์ประกอบเหล่านั้นไม่ได้เป็นโลหะจริงๆ ตามความหมายของ[[เคมี|เคมีดั้งเดิม]] จึงจำเป็นอย่างยิ่งต้องระมัดระวังไม่นำไปปะปนกับคำว่า "โลหะ" (metal หรือ metallic) โดยทั่วไป
 
ความเป็นโลหะของวัตถุทางดาราศาสตร์อาจพิจารณาได้จากอายุของวัตถุนั้นๆ เมื่อแรกที่เอกภพก่อตัวขึ้นตาม[[ทฤษฎีบิกแบง]] มีองค์ประกอบของไฮโดรเจนอยู่อย่างมากมาย ซึ่งเมื่อผ่านช่วง[[นิวคลีโอซินทีสิส]]ในยุคแรกเริ่มแล้ว จึงได้เกิดสัดส่วนฮีเลียมเพิ่มจำนวนมากขึ้น กับ[[ลิเทียม]]และ[[เบริลเลียม]]อีกจำนวนเล็กน้อย แต่ยังไม่มีธาตุหนักเกิดขึ้น
 
 
== ดาวฤกษ์ชนิด Population I ==
{{โครงส่วน}}
 
== ดาวฤกษ์ชนิด Population II ==
{{โครงส่วน}}
 
== ดาวฤกษ์ชนิด Population III ==
{{โครงส่วน}}
 
== อ้างอิง ==