ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เศรษฐกิจพอเพียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wanchana (คุย | ส่วนร่วม)
cat
บรรทัด 3:
พระราชดำรัสดังกล่าว มีความว่า
: ''การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง''
— พระราชดำรัส "เศรษฐกิจแบบพอเพียง" พระราชทานเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540
 
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวคิดที่ยึดหลัก[[ทางสายกลาง]] คำว่า ''ความพอเพียง'' นั้นหมายถึงความพร้อมที่จะจัดการกับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากทั้งภายนอกและภายใน [[อภิชัย พันธเสน]] ได้จัดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น "ข้อเสนอในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง" ทั้งนี้เนื่องจากในพระราชดำรัสหนึ่ง ได้ให้คำอธิบายถึงเศรษฐกิจพอเพียงว่า "คือความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบียงผู้อื่น"
 
==เอกสารอ้างอิง==
* [[อภิชัย พันธเสน]], ''พุทธเศรษฐศาสตร์: วิวัฒนาการ ทฤษฎี และการประยุกต์กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่าง ๆ'', สำนักพิมพ์อมรินทร์
 
==ดูเพิ่มเติม==
เส้น 14 ⟶ 17:
* [http://www.sufficiencyeconomy.org/index.php การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง]
 
[[หมวดหมู่:เศรษฐกิจ|ศเรษฐกิจพอเพียง]]
==เอกสารอ้างอิง==
[[หมวดหมู่:ประเทศไทย|ศเรษฐกิจพอเพียง]]
* [[อภิชัย พันธเสน]], ''พุทธเศรษฐศาสตร์: วิวัฒนาการ ทฤษฎี และการประยุกต์กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่าง ๆ'', สำนักพิมพ์อมรินทร์
 
{{โครงเศรษฐศาสตร์}}
 
[[Category:เศรษฐกิจ]]
[[Category:ประเทศไทย]]