ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องจักรแบบเมลลี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Robbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: bs, cs, de, es, fr, hr, id, it, ja, pl, pt, zh
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เก็บกวาด}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''เครื่องจักรเมลลี่''' ({{lang-en|Mealy Machine}}) เป็น[[เครื่องสถานะจำกัด]]ชนิดหนึ่งซึ่ง[[เอาต์พุต]]ของสถานะนั้นๆเป็น[[ฟังก์ชัน]]ของสถานะปัจจุบันและ[[อินพุต]] ด้วย
 
== การวิเคราะห์วงจรเปลี่ยนสถานะตรงตามจังหวะเวลา ==
การวิเคราะห์วงจรเปลี่ยนสถานะตรงตามจังหวะเวลา ( Clocked Synchronous State-Machine Analysis)
[[ภาพไฟล์:input1.jpg]]
* เอาต์พุตปัจจุบัน ของวงจร จะขึ้นอยู่กับ หรือเป็นฟังก์ชันของ ตัวแปรอินพุท และ สถานะปัจจุบัน ถ้าหากมีการเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรอินพุท หรือ ค่าของตัวแปรสถานะเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จะส่งผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงค่าของเอาต์พุตด้วย (มี propagation delay ขึ้นกับความซับซ้อนของวงจร G) โดย การเปลี่ยนแปลงสถานะจะเป็นจังหวะตามการ tick ของสัญญาณนาฬิกา ส่วนสัญญาณอินพุทเปลี่ยนแปลงค่าได้โดยอิสระ ไม่ขึ้นกับสัญญาณนาฬิกาของเครื่องจักรนั้นๆ
 
บรรทัด 14:
- ตัวอย่างที่ 1 : Mealy Machine ที่ใช้ positive-edge-triggered D flip-flop
 
[[ภาพไฟล์:output.jpg]]
 
- จากแผนภาพวงจร จะเห็นว่าเป็น clocked synchronous เครื่องสถานะ ชนิด Mealy Machine
บรรทัด 30:
เอาต์พุตมากกว่า
 
== '''Mealy Model''' ==
คือแบบจำลองของวงจร ซีเควนเชียล จาก 1 ใน 2 ประเภท อีกประเภทหนึ่ง คือ Moore model
ภาพด้านล่างนี้คือ แบบจำลอง Mealy จะเห็นได้ว่า มี output รวมอยู่กับการเปลี่ยน State จากStateหนึ่ง ไปอีก State หนึ่ง
บรรทัด 36:
Stateเปลี่ยนจาก A ไป B
 
[[ภาพไฟล์:exam01.jpg]]
 
ซึ่งเราสามารถที่จะนำ Mealy Model มาทำการวิเคราะห์วงจรซีเควนเชียลได้ โดยการวิเคราะห์วงจร ซีเควนเชียล แยกออกเป็น 4 ประเภทด้วยกัน คือ
 
''' (แบบที่ 1) วงจร Pulsed synchronous ''' วงจรแบบนี้มี Input เป็น pulse และหน่วยความจำมีนาฬิกาดังที่ได้กล่าวมาแล้ว แต่ input
pulse จะเข้าจังหวะ (Synchronous) กับนาฬิกา หรือ ไม่เข้าจังหวะ (Asynchronous) กับนาฬิกาก็ได้ซึ่งทั้งสองกรณี input pulse จะมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะต่อไปของวงจร ในช่วงจังหวะที่มี pulseนาฬิกาเท่านั้น
 
''' (แบบที่ 2) วงจร Level synchronous ''' วงจรแบบนี้จะรวมถึงวงจรทั้งหมดที่มีหน่วยความจำควบคุมโดยสัญญาณนาฬิกา และ
สัญญาณ Input เป็น level ไม่ว่า level นั้นจะเข้าจังหวะกับสัญญาณนาฬิกาหรือไม่
 
บรรทัด 54:
 
และภาพด้านล่างนี้คือ '''mealy machine timing diagram'''ตัวอย่างแผนผังเวลาการทำงานของวงจรแต่ละวงจร
[[ภาพไฟล์:timing.jpg]]
 
'''ตัวอย่าง''' :จากตารางสภาวะข้างล่างนี้เป็นรูปแบบของ มิลลี ให้หา
บรรทัด 61:
ค) คุณลักษณะของ Z (ลำดับของ Z) เมื่อมี Input x เป็นดังนี้ x = 011011 และสภาวะเริ่มต้นอยู่ที่สภาวะ A
 
[[ภาพไฟล์:ex02.jpg]]
 
วิธีทำ พิจารณาจากตารางสภาวะที่ให้มา จะพบว่าOutput Z จะขึ้นกับทั้ง Input x และ PS (y)
บรรทัด 69:
ก) เขียน state diagram ได้ดังนี้
 
[[ภาพไฟล์:ex03.jpg]]
 
ข) ASM. Chart เขียนได้ดังนี้
 
[[ภาพไฟล์:ex04.jpg]]
 
ค) หาลำดับของ output Z เมื่อ input x = 011011 และ สภาวะเริ่มต้นที่สภาวะ A
บรรทัด 91:
มาทำความรู้จักกับ Finite State Machines หรือ FSMs ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับออกแบบวงจรที่มีสัญญาณนาฬิกาควบคุมการทำงาน (Sequential) มีการทำงานเป็นสถานะ (State) แต่ละสถานะจะมีการทำงานที่แตกต่างกัน ค่าเอาต์พุตและสถานะถัดไป จะถูกกำหนดโดยอินพุตที่เข้ามายังสถานะนั้นๆ ทำให้สามารถเปลี่ยนจากสถานะหนึ่งไปยังสถานะอื่นๆได้ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์มากในการออกแบบระบบดิจิตอล เพื่อนำไปอธิบายการทำงานของวงจร โดยทั่วไปวงจรที่ประกอบไปด้วย หน่วยความจำ หรือรีจีสเตอร์ ถือว่าเป็น Finite State Machines (FSMs)
 
{{เรียงลำดับ|คเรื่องจักรแบบเมลลี่}}
[[หมวดหมู่:วงจรดิจิตอล]]