ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพรหมวชิรปัญญาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
กล่องข้อมูล
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนไปใช้เลขอารบิก
บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล พระสงฆ์ไทย
|ชื่อ = ทองดี
|ชื่อภาพ = [[ภาพ:Thamkitivong.JPG|200px|พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ. 9)]]
|ฉายา = สุรเตโช
|ชื่อทั่วไป =
บรรทัด 14:
|จังหวัด = [[กรุงเทพมหานคร]]
|สังกัด = [[มหานิกาย]]
|วุฒิ = [[น.ธ.เอก]], [[ป.ธ. ๙]]
|ตำแหน่ง = [[ราชบัณฑิต]], กรรมการมหาเถรสมาคม, [[เจ้าอาวาส]][[วัดราชโอรสาราม]]
}}
บรรทัด 20:
 
 
'''พระธรรมกิตติวงศ์''' (ทองดี สุรเตโช [[ป.ธ. 9]] - [[15 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2489]] - ) ([[บรรพชา]] [[13 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2503]], [[อุปสมบท]] [[26 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2510]]) [[ราชบัณฑิต]] เจ้าอาวาส[[วัดราชโอรสาราม]] เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม มีจารึกว่า ''พระธรรมกิตติวงศ์ ปริยัติวิธานธำรง กวีวงศดิลก ตรีปิฎกบัณฑิต ธรรมมิกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี'' หัวหน้า[[พระธรรมทูต]]สายที่ 8 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัย [[มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]]
 
==ชีวิตและงาน==
'''พระธรรมกิตติวงศ์''' เกิดที่[[อำเภอพรานกระต่าย]] [[จังหวัดกำแพงเพชร]] เมื่ออายุ 14 ปีและจบชั้นมัธยมต้นแล้วก็ได้บรรพชาเป็น[[สามเณร]] เมื่ออายุครบ 20 ปี ได้อุปสมบทเป็นพระที่วัดเดิมคือ[[วัดไตรภูมิ]] อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร จากนั้นก็ได้ศึกษาธรรมที่[[สำนักเรียน]][[วัดปากน้ำภาษีเจริญ]]สอบได้[[เปรียญ 9 ประโยค]] เมื่อ [[พ.ศ. 2515]] ด้วยอายุ 26 ปี ในทางโลก พระธรรมกิตติวงศ์สอบได้[[ประโยควิชาครูพิเศษมัธยม]] (พ.ม.) ในปีถัดมา
 
====ด้านการงาน====
ด้านการงาน พระธรรมกิตติวงศ์ ได้เป็นเลขานุการ[[เจ้าคณะ]]อำเภอพรานกระต่าย เลขานุการเจ้าคณะ[[เขตบางขุนเทียน]] ต่อมาได้เป็นอาจารย์สอนวิชาแต่ง[[ฉันท์]][[ภาษามคธ]] ชั้นประโยค ป.ธ.8 ที่[[โรงเรียนพระปริยัติธรรม]]ส่วนกลางของคณะ[[สงฆ์]] ก่อนที่จะเป็นเจ้าคณะแขวงบางอ้อได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม
 
====ด้านวิชาการ====
บรรทัด 36:
 
==ตำแหน่งหน้าที่สำคัญ ==
หลังจากสอบได้เปรียญ 9 ประโยคแล้ว พระธรรมกิตติวงศ์ได้ปฏิบัติงานด้านการศาสนาในตำแหน่งต่างๆ มาเป็นลำดับ นอกจากตำแหน่งรองเจ้าอาวาสวัดราชโอรสารามดังกล่าวแล้วก็ได้เป็น[[เจ้าคณะภาค ๑๖16]] เป็นกรรมการมหาเถรสมาคม เป็นเจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม เจ้าสำนักเรียนวัดราชโอรสาราม เป็นหัวหน้า[[คณะธรรมทูตสายที่ 8]] เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม[[พระนักเทศน์]]ใน[[หนกลาง]]และ[[หนใต้]] นอกจากนี้ พระธรรมกิตติวงศ์ ยังเป็นผู้อุปถัมภ์สร้าง[[วัดพุทธวิหาร]] นคร[[เบอร์ลิน]] และ[[วัดธรรมวิหาร]] เมือง[[ฮันโนเวอร์]] ประเทศ[[เยอรมัน]]อีกด้วย พระธรรมกิตติวงศ์ ได้ได้รับการโปรดเกล้าแต่งตั้งเป็น[[ราชบัณฑิต]] สาขาวิชา[[ตันติภาษา]] [[สำนักศิลปกรรม]] [[ราชบัณฑิตยสถาน]]เมื่อ [[พ.ศ. 2539]]
 
==สมณศักดิ์==
บรรทัด 48:
*หลักการแต่งฉันท์ภาษามคธ
*ธรรมสารทีปนี
*คู่มือการศึกษา[[บาลี]] เล่ม 1-4
*ข้อคิด ข้อเขียน
*พระในบ้าน
*ภาษาธรรม
*คำวัด เล่ม 1-5
*คำพ่อคำแม่
*[[ภาษิต]][[นิทัศน์]]
*คนกินคน (หนังสือแปล)
*หัวใจ[[อมตะ]] (หนังสือแปล)
*คลังธรรม เล่ม 1-3
*ธรรมบทชีวิต
 
==อ้างอิง==
*เรียบเรียงจากประวัติใน ''บทธรรมนำชีวิต'' ตีพิมพ์ในโอกาสฉลองอายุสมมงคล ๖๐60 ปี พระธรรมกิตติวงศ์ [[อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับบลิชชิ่ง]] 2549
*ประวัติราชบัณฑิต สำนักศิลปกรรม [[ราชบัณฑิตยสถาน]]
 
บรรทัด 70:
{{เกิดปี|2489}}
[[หมวดหมู่:พระราชาคณะชั้นธรรม|ทองดี สุรเตโช]]
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 9 ประโยค]]
[[หมวดหมู่:ผู้เชี่ยวชาญด้านพุทธศาสนา]]
[[หมวดหมู่:ราชบัณฑิต]]