ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุณหภูมิยังผล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Seiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อุณหภูมิยังผล''' ของวัตถุเช่นดาวฤกษ์หรือดาวเคราะห์คืออุณภูมิที่หาได้จากพลังงานทั้งหมดของการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุดำ<ref>{{cite book | title = Astronomy | author = Archie E. Roy, David Clarke | publisher = CRC Press | year = 2003 | isbn = 9780750309172 | url = http://books.google.com/books?id=v2S6XV8dsIAC&pg=PA216&dq=%22effective+temperature%22+%22black+body%22+radiates+same&lr=&as_brr=0&as_pt=ALLTYPES&ei=kkRRSYyFFIuiyASqyIXDDw }}</ref> อุณหภูมิยังผลจะใช้บ่อยในการประมาณอุณหภูมิของวัตถุเมื่อไม่ทราบโค้งการแผ่รังสี ([[emissivity]] curve) (ที่เป็นฟังก์ชันของ[[ความยาวคลื่น]])
 
== ดาวฤกษ์ ==
[[Imageภาพ:EffectiveTemperature 300dpi e.png|thumb|250px|อุณหภูมิยังผลหรืออุณหภูมิวัตถุดำของ[[ดวงอาทิตย์]](5777 K) คืออุณหภูมิของวัตถุดำที่ให้ผลลัพธ์เท่ากับกำลังการแผ่รังสีทั้งหมด]]
อุณหภูมิยังผลของดาวฤกษ์คืออุณหภูมิของวัตถุดำที่มีฟลักซ์พื้นผิว (<math>\mathcal{F}_{Bol}</math>) เป็นไปตาม[[กฏของสเตฟาน-โบลทซ์มาน]]<math>\mathcal{F}_{Bol}=\sigma T_{eff}^4</math>. เมื่อกำลังส่องสว่างของดาว <math>L=4 \pi R^2 \sigma T_{eff}^4</math>, เมื่อ <math>R</math> คือรัศมีของดาว <ref>{{cite book
| first = Roger John | last=Tayler | year=1994
| title = The Stars: Their Structure and Evolution
| publisher = Cambridge University Press | isbn=0521458854
| page = 16 }}</ref> นิยามของรัศมีของดาวไม่ตรงไปตรงมาอย่างแน่ชัด อุณหภูมิยังผลที่แม่นยำมากกว่าสัมพันธ์กับอุณหภูมิที่รัศมีที่นิยามโดย Rosseland optical depth<ref>{{Cite book|title=Introduction to Stellar Astrophysics, Volume 3, Stellar structure and evolution|first=Erika|last=Böhm-Vitense|page=14|publisher=[[Cambridge University Press]]}}</ref> <ref>{{Cite article|title=The parameters R and Teff in stellar models and observations|last=Baschek|url=http://adsabs.harvard.edu/abs/1991A%26A...246..374B}}</ref>
อุณหภูมิยังผลและกำลังส่องสว่างเป็นตัวแปรฟิสิกส์พื้นฐานที่ใช้ในการระบุตำแหน่งของดาวใน HR Diagram ทั้งอุณหภูมิยังผลและกำลังส่องสว่างตามความเป็นจริงแล้วยังขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมีของดาวด้วย
 
อุณหภูมิยังผลของดวงอาทิตย์อยู่ที่ประมาณ 5780 K <ref>{{Cite book|chapter=Section 14: Geophysics, Astronomy, and Acousticse|publisher=[[CRC Press]]|title=Handbook of Chemistry and Physics|section=14-18: Solar Spectral Irradiance|url=http://www.scenta.co.uk/tcaep/nonxml/science/constant/details/effectivetempofsun.htm|edition=88}}</ref><ref>{{cite book|title=Life in the Solar System and Beyond|first=Barrie William|last=Jones|page=7|publisher=[[Springer]]|year=2004|isbn=1852331011| url=http://books.google.com/books?id=MmsWioMDiN8C&pg=PA7&dq=%22effective+temperature+of+the+sun%22&lr=&ei=inm8R4vBHYTIyASunImbBQ&sig=U7l2pgwQIqlkMuLIWg1HuTW5AxA}}</ref> ดาวฤกษ์จริง ๆ แล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิเมื่อเทียบกับระยะทางจากใจกลางถึงชั้นบรรยากาศ อุณหภูมิที่ใจกลางของดวงอาทิตย์ที่เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ประมาณ 15 000 000 K
 
ดัชนีสีของดาวจะชี้ให้เห็นถึงอุณหภูมิของมันจากที่เย็นมาก (ดาวมาตรฐาน) หรือดาวแดงที่มีชนิดสเปกตรัม M ที่แผ่รังสีในช่วงคลื่นอินฟราเรดไปจนถึงดาวน้ำเงินที่มีชนิดสเปกตรัม O ที่แผ่รังสีมากในช่วงคลื่นอุลตราไวโอเล็ต อุณหภูมิยังผลของดาวจะแสดงถึงปริมาณพลังงานที่ดาวแผ่ออกมาต่อหน่วยพื้นที่บนพื้นผิว ลำดับชนิดสเปกตรัมจากดาวที่ร้อนที่สุดจนถึงดาวเย็นที่สุดคือ O, B, A, F, G, K, M (Oh Be A Fine Girl Kiss Me)
 
ดาวฤกษ์แดงอาจจะเป็นดาวแคระแดง ดาวที่อ่อนกำลังในการผลิตพลังงานและมีพื้นที่ผิวน้อยหรืออาจจะเป็นดาวยักษ์ที่ขยายตัวใหญ่ (Supergiant star) เช่น [[Antares]]หรือ[[Betelgeuse]]จะผลิตพลังงานปริมาณมหาศาลแต่ต้องผ่านพื้นผิวใหญ่มากออกมาทำให้ดาวแผ่พลังงานต่อพื้นผิวน้อย ดาวที่อยู่ใกล้ ๆ กับกึ่งกลางของสเปกตรัมเช่นดวงอาทิตย์ที่มีขนาดปานกลางหรือ [[Capella]] ที่มีขนาดใหญ่ (Giant star) จะแผ่พลังงานต่อพื้นผิวมากกว่าดาวแคระแดงที่อ่อนกำลังหรือดาวยักษ์ใหญ่แต่จะน้อยกว่าดาวฤกษ์สีขาวหรือน้ำเงินเช่น [[Vega]] หรือ [[Rigel]] มาก
 
== ดาวเคราะห์ ==
อุณหภูมิยังผลของดาวเคราะห์จะสามารถคำนวณได้จากการเท่ากันของกำลังจากที่ดาวเคราะห์ได้รับและกำลังจากการปลดปล่อยโดยวัตถุดำมีมีอุณหภูมิ <var>T</var>
 
บรรทัด 31:
การทำให้สองเทอมนี้เท่ากันและทำการจัดรูปใหม่เราก็จะได้เทอมสำหรับการคำนวณหาอุณหภูมิยังผลของดาวเคราะห์คือ
 
<math>T = \left (\frac{L (1-A)}{16 \pi \sigma D^2} \right ) ^{\tfrac{1}{4}}</math>
 
หมายเหตุ-รัศมีของดาวเคราะห์จะถูกตัดหายไปในเทอมสุดท้าย
บรรทัด 43:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
<references/>
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== ลิ้งค์ภายนอก ==
* [http://adsabs.harvard.edu/abs/2006astro.ph..8504C Effective temperature scale for solar type stars]
* [http://ijolite.geology.uiuc.edu/05SprgClass/geo116/8-1.pdf Surface Temperature of Planets]