ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "Singapore Airlines" → "สิงคโปร์แอร์ไลน์" +แทนที่ "สิงคโปร์แอร์ไลนส์" → "สิงคโปร์แอร์ไลน์" ด้วย[[WP:iScript|
บรรทัด 4:
 
{{Infobox Airline
|airline = สิงคโปร์แอร์ไลนส์คาร์โก้ไลน์คาร์โก้
|logo = Singapore Airlines Cargo logo.png
|logo_size = 270
|fleet_size = 14
บรรทัด 27:
}}
 
'''สิงคโปร์แอร์ไลนส์คาร์โก้ไลน์คาร์โก้''' (SIASingapore Airlines Cargo) เป็นสายการบินในเครือของ[[สิงคโปร์แอร์ไลน์]] ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2544 จัดว่าเป็นสายการบินขนส่งสินค้าที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสามของโลก <ref> Cargo Rankings 2006" (November 2008). Airline Business </ref> เมื่อวัดจากหน่วยตันกิโลเมตร (tonne kilometres - FTK) มีเครือข่ายการบินสู่ 36 เมืองใน 18 ประเทศ ขนส่งสินค้า 8 พันล้านตันกิโลเมตรด้วยเครื่องบินขนส่งสินค้ารุ่น Boeing 747-412F จำนวน 14 ลำ <ref>[http://www.siacargo.com/fleetauld_fleet.asp] </ref> มีชื่อว่า MegaArk ใช้เครื่องยนต์ Pratt & Whitney รุ่น PW4056 และดำเนินการขนส่งสินค้าผ่านเครื่องบินโดยสารของ Singapore Airlinesสิงคโปร์แอร์ไลน์ อีก 96 ลำ <ref>[http://en.wikipedia.org/wiki/Singapore_Airlines_Cargo#Fleet] </ref>
 
สิงคโปร์แอร์ไลนส์ไลน์คาร์โก้เป็นหนึ่งในสมาชิก WOW Alliance ซึ่งเป็นกลุ่มพันธมิตรของสายการบินขนส่งสินค้า ประกอบไปด้วย Lufthansa Cargo, SAS Cargo Group และ JAL Cargo ก่อตั้งเมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 นอกจากนี้ Singapore Airlines Cargo สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก้ยังถือหุ้น 25% ใน Great Wall Airlines[[เกรตวอลล์แอร์ไลน์]] ซึ่งเป็นสายการบินขนส่งสินค้ารายใหม่ มีฐานการบินอยู่ที่เมือง[[เซี่ยงไฮ้]] [[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] และให้เช่าเครื่องบินขนส่งสินค้ารุ่น Boeing 747-412F จำนวน 2 ลำ ทำการบินขนส่งสินค้าจากเซี่ยงไฮ้ไปยัง[[อัมสเตอร์ดัม]] [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] <ref>[http://en.wikipedia.org/wiki/Great_Wall_Airlines] </ref>
 
Singapore Airlinesสิงคโปร์แอร์ไลน์ Cargo เริ่มทำการบินเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2001 โดยเข้ามาดำเนินการและดูแลการขนส่งสินค้าทั้งหมดของ Singapore Airlinesสิงคโปร์แอร์ไลน์ ในฐานะบริษัทลูก หลังจากดำเนินงานได้เพียง 1 ปี ก็ได้รับรางวัล "Best Global Air Cargo Carrier" และ "Best Air Cargo Carrier - Asia" จาก Asian Freight Industry Awards (AFIA) ในปี 2002 ซึ่งบริษัทแม่ Singapore Airlinesสิงคโปร์แอร์ไลน์ ก็เคยได้รางวัลนี้มาก่อนแล้วถึง 8 ปีติดต่อกัน <ref>[http://www.siacargo.com/news140302.asp] </ref> และยังได้รับรางวัล "Best Airfreight Carrier" จาก Asia Logistics Awards ในปีเดียวกันอีกด้วย <ref>[http://www.siacargo.com/news291102.asp] </ref>
 
ไม่กี่ปีต่อมาสายการบินได้ขยายเส้นทางการบินใหม่ๆ ซึ่งเป็นผลพลอยได้จากการเปิดเสรีทางการบิน โดยได้เริ่มให้บริการรอบโลกเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2001 เส้นทาง สิงคโปร์ – ฮ่องกง – ดัลลัส – ชิคาโก้ – บรัสเซลส์ (เบลเยี่ยม) – ซาร์จาห์ (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) – สิงคโปร์ ในวันพุธ <ref>[http://www.siacargo.com/news311001.asp] </ref> และให้บริการเส้นทาง สิงคโปร์ – ฮ่องกง – ดัลลัส – ชิคาโก้ – บรัสเซลส์ – มุมไบ (อินเดีย) – สิงคโปร์ ในวันศุกร์ นอกจากนี้ SIA Cargo ยังเป็นสายการบินขนส่งสินค้าประเทศที่สาม รายแรกที่ให้บริการบินตรงระหว่างประเทศจีนกับสหรัฐอเมริกา ในเส้นทาง เซียะเหมิน – นานกิ่ง – ชิคาโก้ – ลอสแอนเจลีส – นานกิ่ง <ref>[http://www.siacargo.com/news220503.asp] </ref> และในเดือนมีนาคม 2004 ได้เริ่มบินเส้นทาง นิวยอร์ก – บรัสเซลส์ – คูเวต – โคลอมโบ (ศรีลังกา) – สิงคโปร์ <ref>[http://www.siacargo.com/news150304.asp] </ref>
บรรทัด 49:
* เซียะเหมิน (Xiamen Gaoqi International Airport) สาธารณรัฐประชาชนจีน
* ไทเป (Taiwan Taoyuan International Airport) สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
* นาโกย่านาโกยา (Chubu Centrair International Airport) ประเทศญี่ปุ่น
* โอซาก้า (Kansai International Airport) ประเทศญี่ปุ่น
* โตเกียว (Narita International Airport) ประเทศญี่ปุ่น