ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภออินทร์บุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อินทร์บุรี''' เป็น[[อำเภอ]]หนึ่งใน 6 อำเภอของ[[จังหวัดสิงห์บุรี]]ประวัติเมืองอินทร์บุรี
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ตารางกล่องข้อมูล อำเภอ
| name = อินทร์บุรี
| english = In Buri
| province = สิงห์บุรี
| area = 314.3
| population = 6057,24777
| population_as_of = 25492550
| density = 192184
| postal_code = 16110
| geocode = 1706
| coordinates = {{coor dms|15|0|28|N|100|19|37|E|type:admin2nd_region:TH}}
| capital = ที่ว่าการอำเภออินทร์บุรี เลขที่ 90/2 หมู่ที่ 3 ถนนสุขาภิบาล 2 ตำบลอินทร์บุรี อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16110
| phone = 0 3658 1064
| fax = 0 3658 1064
| คำขวัญ = ขนมเปี๊ยะเมืองอินทร์ ถิ่นเกษตรปลอดสารพิษ เรืองฤทธิ์พระอินทร์
}}
'''อินทร์บุรี''' เป็น[[อำเภอ]]หนึ่งใน 6 อำเภอของ[[จังหวัดสิงห์บุรี]]ประวัติเมืองอินทร์บุรี
 
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
อำเภออินทร์บุรีตั้งอยู่ทางทิศเหนือสุดของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังนี้
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[อำเภอสรรพยา]] ([[จังหวัดชัยนาท]]) และ[[อำเภอตาคลี]] ([[จังหวัดนครสวรรค์]])
* '''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับ[[อำเภอบ้านหมี่]] ([[จังหวัดลพบุรี]])
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[อำเภอเมืองสิงห์บุรี]]และ[[อำเภอบางระจัน]]
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[อำเภอสรรคบุรี]] (จังหวัดชัยนาท)
 
== ประวัติ ==
เมืองอินทร์บุรี (เขียนตามที่ปรากฏในหนังสือประวัติศาสตร์) เป็นเมืองชายแดนทางเหนือของ[[อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา]] (ตอนต้น) มีอาณาเขตติดต่อกับเมืองชัยนาทซึ่งเป็นหัวเมืองตอนใต้ ของ[[อาณาจักรสุโขทัย]] เมืองอินทร์ตั้งขึ้นโดยกษัตริย์สมัยกรุงศรีอยุธยาเมื่อประมาณปี [[พ.ศ. 1912]] ตรงกับรัชสมัย[[สมเด็จพระราเมศวร]] พระโอรสของ[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1]] (อู่ทอง) เจ้าเมืองเลือกสรรจากเชื้อพระวงศ์
 
เมืองอินทร์บุรีเดิมตั้งอยู่บริเวณเหนือวัดปราสาท ต่อมาย้ายไปบริเวณเหนือวัดโบสถ์ เจ้าเมืองอินทร์คนสุดท้ายคือพระศักดิบุรินทร์ ในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระองค์ได้เคยเสด็จมาคล้องช้าง และคล้องช้างเผือกคู่บารมีได้ 1 เชือก "ที่บ้านน้ำทรง แขวงเมืองอินทร์บุรี ฯลฯ"<ref>กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ. '''ไทยรบพม่า.''' กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา, 2514, หน้า 25.</ref>
เมืองอินทร์บุรี (เขียนตามที่ปรากฏในหนังสือประวัติศาสตร์)เป็นเมืองชายแดนทางเหนือของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา มีอาณาเขตติดต่อกับเมืองชัยนาทหัวเมืองตอนใต้ ของอาณาจักรสุโขทัย
 
เมืองอินทร์ได้แต่งตังโดยกษัตริย์สมัยกรุงศรีอยุธยา ประมาณปี พ.ศ. 1912 ซึ่งตรงกับสมัยของสมเด็จพระราเมศวร
นอกจากนี้เมืองอินทร์บุรียังเป็นเมืองหน้าด่านสำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตามที่ปรากฏ คือ "…[[พระเจ้าบุเรงนอง]]ยกทัพใหญ่มาล้อมกรุงศรีอยุธยา ฝ่ายไทยซึ่งมี[[สมเด็จพระมหาจักรพรรดิิ]]และ[[สมเด็จพระมหินทราธิราช|พระมหินทร์]]ได้เตรียมป้องกันพระนครอย่างเต็มที่ เมืองลพบุรีเป็นเมืองหนึ่งที่พระราชพงศาวดารกล่าวว่า ถูกเกณฑ์ให้ไปรักษาเมืองเช่นเดียวกับเมืองสุพรรณบุรี อินทร์บุรี เพชรบุรี ฯลฯ<ref>('''ประวัติศาสตร์เมืองลพบุรี เอกสารประกอบการสัมมนา.''' กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์, 2524.</ref> และปรากฏในปี [[พ.ศ. 2307]] รัชสมัย[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์|พระเจ้าเอกทัศ]] ทรงเตรียมแผนการต่อสู้กับพม่าโดย "ขั้นที่ 1 ให้เกณฑ์ทหารออกไปรักษาด่าน แบ่งกองทัพเรือออกเป็น 9 กอง กองละ 20 ลำ แต่ละกองมีทหารประจำการกองละ 1,400 คน พร้อมด้วยเครื่องศาสตราวุธ เรือรบมีปืนใหญ่ 1 กระบอก ปืนขนาดเล็ก 1 กระบอก แล้วแบ่งไปประจำที่ต่าง ๆ ดังนี้ ฯลฯ
พระโอรสของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) เจ้าเมืองเลือกสรรจากเชื้อพระวงศ์
เมืองอินทร์บุรี เดิมตั้งอยู่บริเวณเหนือวัดปราสาท ต่อมาย้ายไปบริเวณเหนือวัดโบสถ์ เจ้าเมืองอินทร์คนสุดท้าย คือพระศักดิบุรินทร์ เมืองอินทร์บุรี เป็นเมืองหน้าด่านสำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยาตามที่ปรากฏ คือ "…พระจ้าบุเรงนองยกทัพใหญ่มาล้อมกรุงศรีอยุธยา ฝ่ายไทยซึ่งมีสมเด็จพระมหาจักรพรรด
ิและพระมหินทร์ได้เตรียมป้องกันพระนครอย่างเต็มที่เมืองลพบุรี
เป็นเมืองหนึ่ง ที่พระราชพงศาวดารกล่าวว่า ถูกเกณฑ์ให้ไปรักษาเมืองเช่นเดียวกับ เมืองสุพรรณบุรี อินทร์บุรี เพชรบุรี ฯลฯ (ประวัติศาสตร์เมืองลพบุรีเอกสารประกอบการสัมมนา ,ร.พ.เรือนแก้วการพิมพ์,2524 ,หน้า .) และปรากฏในปี พ.ศ. 2307 สมัยของพระเจ้าเอกทัศซึ่งทรงเตรียมแผนการต่อสู้กับพม่า
คือ "ขั้นที่ ๑ ให้เกณฑ์ทหารออกไปรักษาด่าน แบ่งกองทัพเรือออกเป็น ๙ กองๆ ละ 20 ลำ แต่ละกองมีทหารประจำการกองละ 1,400 คน พร้อมด้วยเครื่องศาสตราวุธ เรือรบมีปืนใหญ่ 1 กระบอก ปืนขนาดเล็ก 1 กระบอก แล้วแบ่งไปประจำที่ต่างๆ ดังนี้ ฯลฯ
6.ให้หม่อมมหาดเล็กวังหน้า ไปตั้งรับพม่าทางแม่น้ำเมืองสิงห์บุรี
7.ให้หม่อมเทไพ ไปตั้งรับพม่าทางเมืองอินทร์บุรี
8.ให้หม่อมทิพยุพิน ไปตั้งรับพม่าทางแม่น้ำเมืองพรหมบุรี
9.ให้ศรีภูเบศก์ ไปตั้งรับพม่าทางแม่น้ำเมืองพรหมบุรี….("<ref>ไพฑูรย์ มีกุศล, . '''ประวัติศาสตร์ไทย,ร.พ.''' ปรีดาการพิมพ์, 2521, หน้า 266) ในสมัยของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ได้เคยเสด็จมาคล้องช้าง และคล้องช้างเผือกคู่บารมีได้ 1 เชือก "ที่บ้านน้ำทรง แขวงเมืองอินทร์บุรีฯลฯ"(กรมพระยาดำรงราชานุภาพ,สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ,.</ref>
ไทยรบพม่า.ร.พ.แพร่พิทยา,2514.หน้า 25.) จากหลักฐานตามประวัติศาสตร์ที่กล่าวมาแล้ว จึงสรุปได้ว่าเมืองอินทร์บุรีเป็นเมืองหนึ่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา ปี พ.ศ. 2438 สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ได้ทรงปฏิรูประบบริหารราชการแผ่นดิน ให้ยุบเมืองอินทร์บุรี เมืองพรหมบุรี
ขึ้นตรงกับเมืองสิงห์บุรี เมืองอินทร์บุรี เป็นอำเภออินทร์บุรี เมืองพรหมบุรี เป็นอำเภอพรหมบุรี และเมืองสิงห์บุรีเป็นจังหวัดสิงห์บุรี
สำหรับที่ว่าการอำเภออินทร์บุรี ครั้งแรกตั้งอยู่ที่บริเวณวัดโพธิลังการ์ ต่อมาย้ายเข้ามาตั้งอยู่บริเวณวัดปราสาท ตรงกับที่ตั้งเมืองอินบุรีครั้งแรก
อาจเป็นเพราะบริเวณที่ตั้งที่ว่าการอำเภอคับแคบไม่สะดวกในการขยายสำนักงานของส่วนราชการอื่น
ทางราชการจึงย้ายที่ว่าการอำเภอมาทางทิศใต้ บริเวณบ้านบางท้องคุ้ง หมู่ที่ 3 ตำบลอินทร์บุรี คือที่ตั้งบริเวณปัจจุบันนี้
นายอำเภออินทร์บุรีคนแรก คือ หลวงอินทรวรนาถ
 
จนกระทั่งปี [[พ.ศ. 2438]] รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว]] (รัชกาลที่ 5) พระองค์ได้ทรงปฏิรูประบบริหารราชการแผ่นดิน โดยให้ยุบเมืองอินทร์บุรีและเมืองพรหมบุรีไปขึ้นตรงกับเมืองสิงห์บุรี เมืองอินทร์บุรี จึงกลายเป็นอำเภออินทร์บุรี เมืองพรหมบุรี เป็นอำเภอพรหมบุรี และเมืองสิงห์บุรีเป็นจังหวัดสิงห์บุรี
 
สำหรับที่ว่าการอำเภออินทร์บุรี ครั้งแรกตั้งอยู่ที่บริเวณวัดโพธิลังการ์ ต่อมาย้ายเข้ามาตั้งอยู่บริเวณวัดปราสาท ตรงกับที่ตั้งเมืองอินทร์บุรีครั้งแรก อาจเป็นเพราะบริเวณที่ตั้งที่ว่าการอำเภอคับแคบไม่สะดวกในการขยายสำนักงานของส่วนราชการอื่น ทางราชการจึงย้ายที่ว่าการอำเภอมาทางทิศใต้ บริเวณบ้านบางท้องคุ้ง หมู่ที่ 3 ตำบลอินทร์บุรี คือที่ตั้งบริเวณปัจจุบันนี้ นายอำเภออินทร์บุรีคนแรก คือ หลวงอินทรวรนาถ
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
อำเภออินทร์บุรีตั้งอยู่ทางทิศเหนือสุดของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังนี้
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[อำเภอสรรพยา]] ([[จังหวัดชัยนาท]]) และ[[อำเภอตาคลี]] ([[จังหวัดนครสวรรค์]])
* '''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับ[[อำเภอบ้านหมี่]] ([[จังหวัดลพบุรี]])
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[อำเภอเมืองสิงห์บุรี]]และ[[อำเภอบางระจัน]]
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[อำเภอสรรคบุรี]] (จังหวัดชัยนาท)
 
== การปกครองส่วนภูมิภาค ==
อำเภออินทร์บุรีแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 10 [[ตำบล]] ได้แก่
{|
||-
|- valign=top
||1.||อินทร์บุรี||||||(In Buri)||||||||6.||ท่างาม||||||(Tha Ngam)||||||
||
||-
#อินทร์บุรี (In Buri)
#||2.||ประศุก ||||||(Prasuk) ||||||||7.||น้ำตาล||||||(Namtan)||||||
||-
#ทับยา (Thap Ya)
||3.||ทับยา||||||(Thap Ya)||||||||8.||ทองเอน||||||(Thong En)||||||
#งิ้วราย (Ngio Rai)
||-
#ท่างาม (Tha Ngam)
||4.||งิ้วราย||||||(Ngio Rai)||||||||9.||ห้วยชัน||||||(Huai Chan)||||||
||
||-
||5.||ชีน้ำร้าย||||||(Chi Nam Rai)||||||||10.||โพธิ์ชัย||||||(Pho Chai)||||||
||
||
||
||
||
||
||
||
<ol start=6>
<li>น้ำตาล (Namtan)
<li>ทองเอน (Thong En)
<li>ห้วยชัน (Huai Chan)
<li>โพธิ์ชัย (Pho Chai)
<li>ชีน้ำร้าย (Chi Nam Rai)
</ol>
|}
 
== การปกครองส่วนท้องถิ่น ==
ท้องที่อำเภออินทร์บุรีประกอบด้วยองค์การบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 11 แห่ง ได้แก่
* '''[[เทศบาลตำบลอินทร์บุรี]]''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอินทร์บุรี (เฉพาะหมู่ที่ 3, 4, 6, และ 7 ของตำบลอินทร์บุรี)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลอินทร์บุรี''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอินทร์บุรี (เฉพาะนอกเขต[[เทศบาลตำบลอินทร์บุรี]])
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลประศุก''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลประศุกทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลทับยา''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลทับยาทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลงิ้วราย''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลงิ้วรายทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลชีน้ำร้าย ''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชีน้ำร้ายทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลท่างาม''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่างามทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำตาล''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลน้ำตาลทั้งตำบล
เส้น 83 ⟶ 68:
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยชัน''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลห้วยชันทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลโพธิ์ชัย''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโพธิ์ชัยทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลชีน้ำร้าย ''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชีน้ำร้ายทั้งตำบล
 
== ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ==
 
* อาชีพหลัก ได้แก่
เส้น 92 ⟶ 76:
# [[อุตสาหกรรม]]
* อาชีพเสริม ได้แก่
# เลี้ยงสัตว์ เช่น โคเนื้อ สุกร ไก่พื้นเมือง ไก่เนื้อ โค
* [[ธนาคาร]]มี 7 แห่ง ได้แก่
# [[ธนาคารออมสิน]]
เส้น 107 ⟶ 91:
 
== การศึกษา ==
อำเภออินทร์บุรี มีสถาบันการศึกษาทุกระดับ ทั้ง[[โรงเรียน]] และ[[วิทยาลัย]] และ สถาบันที่สำคัญประกอบด้วย ได้แก่
* [[มหาวชิราลงกรณ์วชิราลงกรณราชวิทยาลัย]] สาขาวัดไผ่ดำ
* [[วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี]] วิทยาเขตอินทร์บุรี
* [[วิทยาลัยการอาชีพ]]อินทร์บุรี
เส้น 117 ⟶ 101:
 
== การสาธารณสุข ==
อำเภออินทร์บุรี มี ร้านขายยา จำนวน - แห่ง คลินิคเวชกรรม จำนวน - แห่ง สถานีอนามัย จำนวน - แห่ง และโรงพยาบาล 3 แห่ง คือ
* [[โรงพยาบาลอินทร์บุรี]] สังกัด กระทรวงสาธารณสุข เป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 280 เตียง
* [[โรงพยาบาลพูลผล]] อินทร์บุรี เป็นโรงพยาบาลเอกชน ขนาด 30 เตียง
* [[โรงพยาบาลคริสเตียนไชยวัฒน์]] เป็นโรงพยาบาลเอกชน ขนาด 30 เตียง
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{อำเภอจังหวัดสิงห์บุรี}}
[[หมวดหมู่:อำเภอในจังหวัดสิงห์บุรี|อินทร์บุรี]]
{{โครงจังหวัด}}