ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไม้ม้วน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
นู๋เองง่ะ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
 
== ประวัติ ==
ไม้ม้วนมีปรากฏในภาษาเขียนของไทย มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ใน[[ศิลาจารึกหลักที่หนึ่ง]] ของ[[พ่อขุนรามคำแหง]] ในคำว่า ใคร ใคร่ ใด ใส ใหญ่ ใน ให้ ใช้ ใต้ ใศ่ ใว้ เป็นต้น อาจกล่าวได้ว่าเสียงสระของไม้ม้วนเป็นอักษรเฉพาะในภาษาไทยสยามปัจจุบันส่วนใหญ่ออกเสียงเหมือนไม้มลาย และไม่ปรากฏแต่ในภาษาเขียนในตระกูลภาษาไทอื่นๆ แม้กระทั่งในอักษรตระกูลอินเดีย ภาษาอื่นๆสมัยโบราณเสียงสระสองเสียงนี้แตกต่างกัน
ยังมีร่องรอยให้เห็นในภาษาไทยถิ่นและใน[[ภาษาไท]]กลุ่มต่าง ๆ นอกประเทศไทย นอกจากภาษาไทยสยามแล้วยังมีภาษาไทกลุ่มอื่นเช่น [[ภาษาลาว]] และ
 
[[ภาษาไทใหญ่]] ที่ปรากฎสระนี้ในภาษาเขียน
ในสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] มีตำราเรียนระบุการใช้ไม้ม้วน ในคำศัพท์จำนวน 20 คำ โดยมีคำกลอนแต่งไว้ในหนังสือ[[จินดามณี]]ดังนี้
 
เส้น 81 ⟶ 82:
|}
 
เป็นที่น่าสังเกตว่า ในสยามนั้นการใช้ไม้ม้วนนั้น จำกัดอยู่ที่คำศัพท์ 20 คำ มาตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็นอย่างน้อย และคำศัพท์ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น จะใช้ไม้มลายทั้งสิ้น (เว้นแต่ลูกคำที่แตกจากแม่คำ ซึ่งใช้ไม้ม้วนอยู่แล้ว) แม้คำศัพท์เฉพาะ ที่เป็นชื่อต่างๆ ก็ไม่นิยมที่จะใช้ไม้ม้วนนอกเหนือจาก 20 คำดังกล่าว
 
== คำที่ใช้ไม้ม้วน ==