ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''Asynchronous Transfer Mode''' หรือ ชื่อย่อ '''ATM''' เป็นเครือข่ายสื่อสาร ที่ใช้[[โปรโตคอลโพรโทคอล]]ชื่อเดียวกันคือ ATM เป็นมาตรฐานการส่งข้อมูลความเร็วสูง โดย ATM ถูกพัฒนามาเพื่อให้ใช้กับงานที่มีลักษณะ ข้อมูลหลายรูปแบบและต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมากๆ มีความเร็วในการส่งข้อมูลได้ตั้งแต่ 2 [[Mbps]] ไปจนถึงระดับ [[Gbps]] สื่อที่ใช้ในเครือข่ายมีได้ตั้งแต่[[สายโคแอกเชียล]] [[สายไฟเบอร์ออปติค]] หรือ[[สายไขว้คู่]] (Twisted pair) โดย ATM นั้นถูกพัฒนามาจากเครือข่าย[[แพ็กเก็ตสวิตซ์]] (packet switched) ซึ่งจะแบ่งข้อมูลที่จะส่งออกเป็นหน่วยย่อยๆ เรียกว่า[[แพ็กเก็ต]] (packet) ที่มีขนาดเล็กและคงที่แล้วจึงส่งแต่ละแพ็กเก็ตออกไป แล้วนำมาประกอบรวมกันเป็นข้อมูลเดิมอีกครั้งที่ปลายทาง ข้อดีของ ATM คือสามารถใช้กับข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบ เช่น ภาพเคลื่อนไหว, ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือเสียง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความเร็วของข้อมูลสูง และยังมีการรับประกันคุณภาพของการส่ง เนื่องจากมี [[Quality of Service]] (QoS)
 
จุดเด่นของเครือข่าย ATM ที่เหนือกว่าเครือข่ายประเภทอื่น คือ อัตราการส่งผ่านข้อมูลสูง และเวลาในการเดินทางของข้อมูลน้อย จึงทำให้มีบางกลุ่มเชื่อว่า ATM จะเป็นเทคโนโลยีหลักของเครือข่าย [[LAN]] ในอนาคต เนื่องจากสามารถรองรับ Application ที่ต้องการอัตราส่งผ่านข้อมูลสูง เช่น การประชุมทางไกล (Videoconferencing) หรือแม้กระทั่ง Application แบบตอบโต้กับระหว่าง Client กับ Sever
บรรทัด 47:
== สถาปัตยกรรมของเครือข่ายแบบ ATM ==
 
โครงสร้างโปรโตคอลโพรโทคอลของ ATM จะแตกต่างจากโครงสร้างโปรโตคอลโพรโทคอลประเภทอื่น คือ โดยทั่วไปโปรโตคอลโพรโทคอลจะแบ่งเป็นเลเยอร์ ซึ่งเป็นแบบ 2 มิติเท่านั้น แต่โปรโตคอลโพรโทคอลของ ATM จะเป็นแบบ 3 มิติ แต่ละมิติจะเรียกว่า "เพลน(Plane)" โดยแต่ละเพลนจะเป็นชุดโปรโตคอลโพรโทคอลที่แยกกัน ประกอบด้วย 3 เพลน ดังนี้
 
* '''Control Plane'''
บรรทัด 57:
[[ภาพ:atmModel.gif]]
 
ATM นั้นจะทำงานในเลเยอร์ที่ 1 และ 2 ของ OSI MODEL ส่วนโปรโตคอลโพรโทคอลที่อยู่เหนือขึ้นไปจะเป็นโปรโตคอลโพรโทคอลมาตรฐานทั่ว ๆ ไป สำหรับโปรโตคอลโพรโทคอล ATM จะแบ่งเป็นเลเยอร์บน และเลเยอร์ล่าง ซึ่งเลเยอร์บนจะมีในส่วนของ User Plane และ Control Plane , User Plane จะรับผิดชอบในการให้บริการเกี่ยวกับการรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีส่งและสถานีรับ ส่วน Control Plane จะรับผิดชอบเกี่ยวกับสัญญาณ (Signal)
 
 
บรรทัด 63:
 
 
ในชั้นฟิสิคอลของชุดโปรโตคอลโพรโทคอล ATM จะแบ่งย่อยออกเป็น 2 ชั้น ดังนี้
 
* '''Transmission Convergence (TC)'''
บรรทัด 76:
ดังรูป ในชั้นData Link ของ ATM นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 เพลน คือ User Plane และ Control Plane ทั้ง 2 เพลนจะอยู่บนชั้นย่อย ATM เลเยอร์ ในส่วน User Plane นั้นจะมีชั้นย่อยที่ชื่อ AAL(ATM Adaption Layer)ส่วนใน Control Plane จะมีสองชั้นย่อย คือ CS(Convergence Sublayer) และ SAR (Segmentation and Reassembly)
 
โปรโตคอลโพรโทคอลในชั้นย่อย CS จะรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมข้อมูลที่ส่งผ่านระหว่างโปรโตคอลโพรโทคอลที่สูงกว่า เช่น TCP/IP หรือ IPX/SPX กับโปรโตคอลโพรโทคอลในชั้นย่อย AAL ส่วนโปรโตคอลโพรโทคอลในชั้น SAR จะทำการจัดแบ่งข้อมูลให้มีขนาดที่สามารถใส่ในเซลล์หนึ่งได้ ซึ่งข้อมูลจะมีขนาดใหญ่สุดไม่เกิน 48 ไบต์ ในแต่ละเซลล์ข้อมูลแล้วส่งผ่านไปยังชั้น AAL เลเยอร์ต่อไป หน้าที่ของ AAL ก็คือจะนำข้อมูลจากชั้น SAR ที่มีขนาด 48 ไบต์ แล้วทำให้อยู่ในฟอร์แมตก่อนที่จะเป็นเซลล์ แล้วส่งต่อไปยังชั้น ATM เลเยอร์ ซึ่งในชั้นนี้ก็จะนำข้อมูลส่วนหัวที่มีขนาด 5 ไบต์ ทำให้ได้เซลล์ข้อมูลที่มีขนาด 53 ไบต์เมื่อรวมทั้งเฮดเดอร์ และเพโหลดเข้าด้วยกัน
 
=== ATM Layer ===
 
 
โปรโตคอลโพรโทคอลในเลเยอร์นี้จะรับผิดชอบเกี่ยวกับการสร้างการเชื่อมต่อเสมือน หรือ VC(Virtual Connections) แล้วทำการส่งเซลล์ข้อมูลผ่านการเชื่อมต่อ ATM เลเยอร์จะเป็นหนึ่งในชั้นย่อยและทำงานเหมือนโปรโตคอลโพรโทคอลในชั้นดาต้าลิงก์ของแบบอ้างอิง OSI หน้าที่ของโปรโตคอลโพรโทคอลในชั้นนี้จะขึ้นอยู่กับประเภทของอุปกรณ์ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สถานีรับส่ง (End Station) และสวิตซ์ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
 
- End Station : การทำงานของ ATM เลเยอร์ในคอมพิวเตอร์ที่รับหรือส่งข้อมูลจะทำหน้าที่ คือ สถานีส่งจะต้องทำการส่งสัญญาณให้สถานีรับทราบว่ามีข้อมูลที่ต้องการส่ง และทำการเจรจาเพื่อสร้างวงจรเสมือน (Virtual Circuit) ระหว่างสองสถานี