ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลงโลกนิติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ลบอ้างอิงแบบเก่าออก
บรรทัด 14:
เนื้อหาในโคลงโลกนิติจึงมุ่งแสดงความจริงของโลกและสัจธรรมของชีวิต เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เท่าทันต่อโลก และเข้าใจในความเป็นไปของชีวิต พร้อมเป็นแม่แบบเพื่อให้ผู้อ่านได้ดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้องดีงามสืบไป
 
โคลงโลกนิติมีความไพเราะเหมาะสมทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหาปรัชญาสาระ ครบคุณค่าทางวรรณกรรม ทำให้เป็นที่แพร่หลายในหมู่คนทั่วไป บางท่านกล่าวยกย่องโคลงโลกนิติว่าเป็น ''อมตะวรรณกรรมคำสอน'' หรือ ''ยอดสุภาษิตอมตะ''{{อ้าง|๑}}<ref>''สุปาณี พัดทอง, "โคลงโลกนิติ" อมตะวรรณกรรมคำสอน''</ref>, ได้รับคัดเลือกจาก[[กระทรวงศึกษาธิการ]]ให้เป็นบทอ่านใน[[หนังสือแบบเรียน]]สำหรับนักเรียนนักศึกษาอยู่ทุกยุคสมัย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งใน[[หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน|หนังสือดี ๑๐๐ เล่มที่คนไทยควรอ่าน]]
 
==ประวัติ==
บรรทัด 44:
== รูปแบบของหนังสือประชุมโคลงโลกนิติ ==
[[ภาพ:lokaniti meeting.jpg|200px|right|thumb|ประชุมโคลงโลกนิติ ฉบับกรมวิชาการ]]
หนังสือประชุมโคลงโลกนิติ{{อ้าง|๒}}<ref>ในที่นี้เป็นรูปแบบตามหนังสือประชุมโคลงโลกนิติ ฉบับกรมวิชาการ</ref> ขึ้นต้นด้วยโคลงนำ ๒ บท คือ
{|align="center"
|&nbsp;
บรรทัด 162:
* '''โลกนิติ - สุตวัฑฒนนีติ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'''
[[ราชบัณฑิตยสถาน]]ได้ชำระและแปลคัมภีร์โลกนิติและ[[คัมภีร์สุตวัฑฒนนีติ]] ออกเป็น ๔ ภาษา คือ ภาษาบาลี ภาษาบาลีเขียนเป็น[[อักษรโรมัน]] ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ รวมมีทั้งสิ้น ๑๖๗ คาถา พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2540|พ.ศ. ๒๕๔๐]]
 
 
== เชิงอรรถ ==
{{รายการอ้างอิง}}
* {{หมายเหตุ|๑}} จาก ''สุปาณี พัดทอง, "โคลงโลกนิติ" อมตะวรรณกรรมคำสอน''
* {{หมายเหตุ|๒}} ในที่นี้เป็นรูปแบบตามหนังสือประชุมโคลงโลกนิติ ฉบับกรมวิชาการ
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 174 ⟶ 172:
== อ้างอิง ==
{{วิกิซอร์ซ|โคลงโลกนิติ}}
 
* กรมวิชาการ, '''ประชุมโคลงโลกนิติ''', กรมวิชาการ, 2543. ISBN 9742688192.
* สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร, '''โคลงโลกนิติ''', เรือนปัญญา, 2545. ISBN 9744194669.