ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลื่อนไปทางแดง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 3:
ในวิชาฟิสิกส์และดาราศาสตร์ '''การเคลื่อนไปทางแดง''' ({{lang-en|Redshift}}) เกิดขึ้นเมื่อการแผ่รังสี[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]] (โดยมากเป็น[[แสงที่ตามองเห็น]]) มีการเปล่งแสงหรือสะท้อนกับวัตถุ แล้วเกิด[[ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์]]ทำให้คลื่นเคลื่อนตัวไปในทางฝั่งสีแดงของ[[สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า]] (ซึ่งมีพลังงานน้อยกว่า) การเคลื่อนไปทางแดงจึงหมายถึงการที่ผู้สังเกตหรืออุปกรณ์ตรวจจับได้รับรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มี[[ความยาวคลื่น]]เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับแหล่งกำเนิด การที่ความยาวคลื่นเพิ่มขึ้นสัมพันธ์กับการที่[[ความถี่]]คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าลดลง ดังนั้นในทางตรงกันข้าม หากตรวจพบว่าความยาวคลื่นลดลงก็จะเรียกปรากฏการณ์นั้นว่า '''[[การเคลื่อนไปทางน้ำเงิน]]'''
 
การเคลื่อนไปทางแดงที่เกิดจากปรากฏการณ์ดอปเพลอร์เกิดขึ้นเมื่อแหล่งกำเนิดแสงเคลื่อนที่ห่างออกไปจากผู้สังเกต เช่นเดียวกับการเคลื่อนดอปเปลอร์ซึ่งความถี่จะเปลี่ยนแปลงลดลงเมื่อต้นกำเนิดเสียงเคลื่อนห่างออกไป [[ฟิสิกส์ดาราศาสตร์]]สเปกโตรสโกปีอาศัยปรากฏการณ์ดอปเพลอร์เช่นนี้ในการคำนวณการเคลื่อนที่ของวัตถุทางดาราศาสตร์ที่อยู่ในที่ห่างไกล<ref>โปรดดูหนังสืออ่านเพิ่มเติมของ บินนีย์และเมอร์ริเฟลด์ (1998), คาร์โรลล์และออสต์ไล (1996), คัตเนอร์ (2003) สำหรับวิธีการนำปรากฎการณ์ปรากฏการณ์นี้ไปใช้ในทางดาราศาสตร์</ref>
 
== อ้างอิง ==