ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซากมหานวดารา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: nn:Supernovarest, pt:Remanescente de supernova
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
[[ภาพ:Sig06-030.jpg|thumb|ซากซูเปอร์โนวา N49 ใน[[เมฆแมเจลแลนใหญ่]]]]
{{รอการตรวจสอบ}}
{{สั้นมาก}}
 
'''ซากซูเปอร์โนวา''' ({{lang-en|supernova remnant}}; SNR) คือโครงสร้างที่เกิดจากการระเบิดขนานใหญ่ของดวงดาวในปรากฏการณ์ [[ซูเปอร์โนวา]] ซากซูเปอร์โนวาคงอยู่ด้วย[[คลื่นช็อค]]ที่ขยายตัวออกมา ประกอบด้วยวัตถุที่ดีดตัวออกมาจากการระเบิด รวมถึงวัตถุ[[มวลสารระหว่างดาว]]ระหว่างเส้นทางที่ถูกกวาดเข้ามารวมด้วย
[[ภาพ:Sig06-030.jpg|thumb|ซากซูเปอร์โนวา]]
 
เส้นทางการเกิดซูเปอร์โนวามีสองทางคือ เมื่อ[[ดาวฤกษ์]]มวลมากไม่มีเชื้อเพลิงต่อไปและหยุดสร้าง[[พลังงานฟิวชั่น]]ที่แกนกลาง จึงเกิดการแตกสลายจากภายในด้วยแรงจาก[[ความโน้มถ่วง]]ของมันเองกลายเป็น[[ดาวนิวตรอน]]หรือ[[หลุมดำ]] หรือ[[ดาวแคระขาว]]ที่รวบรวมวัตถุจากดาวข้างเคียงเข้ามาจนกระทั่งมีขนาดถึง[[มวลวิกฤต]] และเกิดการระเบิดนิวเคลียร์ความร้อนขึ้น
'''ซากซูเปอร์โนวา''' สิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากการระเบิดที่เกิดต่อมาจาก [[ซูเปอร์โนวา]] ที่เกิดจากการระเบิดของดาว เมื่อ [[พลังงาน]]ในดาวดวงนั้น มากกว่า[[แรงโน้มถ่วง]]ในตัวมัน
 
ผลจากการระเบิดซูเปอร์โนวาทั้งสองกรณีทำให้มวลสารระหว่างดาวส่วนใหญ่หรือทั้งหมดถูกขับออกไปด้วยความเร็วประมาณ 1% ของ[[ความเร็วแสง]] หรือราว 3,000 กิโลเมตร/วินาที เมื่อมวลสารเหล่านี้ปะทะกับอวกาศหรือแก๊สระหว่างดาวที่อยู่รอบๆ จึงเกิดเป็นคลื่นช็อคที่ทำให้แก๊สมีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นมากถึงขนาด 10 ล้าน[[เคลวิน]] และกลายเป็น[[พลาสมา]]
 
ซากซูเปอร์โนวาที่โด่งดังที่สุดและถูกเฝ้าสังเกตมากที่สุดน่าจะได้แก่ SN 1987A ซึ่งเป็นซูเปอร์โนวาใน[[เมฆแมเจลแลนใหญ่]] ค้นพบในปี ค.ศ. 1987 ซากซูเปอร์โนวาชื่อดังและเก่าแก่อีกแห่งหนึ่งคือ ซากไทโค (SN 1572) ซึ่งตั้งชื่อตาม [[ไทโค บราเฮ]] ผู้บันทึกความสว่างจากการระเบิดครั้งแรกของมันได้ (ในปี ค.ศ. 1572) และซากเคปเลอร์ (SN 1604) ซึ่งตั้งชื่อตาม [[โยฮันเนส เคปเลอร์]] ซากซูเปอร์โนวาล่าสุดที่พบในดาราจักรของเราคือ G1.9+0.3 อยู่ในบริเวณใจกลางดาราจักร ประมาณว่าได้เกิดการระเบิดมานานประมาณ 140 ปีแล้ว<ref>[http://chandra.harvard.edu/press/08_releases/press_051408.html ค้นพบซูเปอร์โนวาล่าสุดในดาราจักรของเรา] 14 พฤษภาคม ค.ศ. 2008 </ref>
 
== อ้างอิง ==
<references />
 
[[หมวดหมู่:ดาราศาสตร์]]