ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญนิยม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vetbook (คุย | ส่วนร่วม)
Vetbook (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5:
 
== ความหมาย ==
'''รัฐธรรมนูญนิยม''' มีหลายความหมาย. โดยส่วนใหญ่แล้วมักหมายถึงกลุ่มของแนวความคิด ทัศนคติ และรูปแบบพฤติกรรมที่สาธยายเกี่ยวกับหลักการที่การใช้อำนาจของรัฐมาจากกฎหมายสูงสุดและถูกจำกัดอำนาจด้วยกฎหมายสูงสุด <ref> Don E. Fehrenbacher, ''Constitutions and Constitutionalism in the Slaveholding South'' (University of Georgia Press, 1989) at p. 1. ISBN 978-0820311197 (bracketed numbers added)</ref>
 
ความหมายของรัฐธรรมนูญที่ได้รับการยอมรับเป็นของ [[เดวิด เฟลล์แมน]] เมธีด้านรัฐศาสตร์และรัฐธรรมนูญแห่ง[[มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน]] ซึ่งอธิบายไว้ว่า
 
{{คำพูด|รัฐธรรมนูญนิยมนั้นหมายถึงการบรรยายแนวคิดที่มีความสลับซับซ้อนอันฝังตัวลึกอยู่ในของประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์ ว่าด้วยการควบคุมข้าราชการผู้ใช้อำนาจรัฐให้อยู่ในขอบเขตที่จำกัดโดยกฎหมายที่สูงกว่าอำนาจนั้น ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมได้แถลงซึ่งความปรารถนาในหลักนิติธรรมและต่อต้านการใช้ดุลพินิจวินิจฉัยหรือดุลพินิจตัดสินใจ ({{en|judgment or mere fiat}}) ตามอำเภอใจของผู้มีอำนาจทางปกครองนั้น ... ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามาตรฐานในการทดสอบความเป็นรัฐธรรมนูญนิยมนั้นก็คือแนวคิดการจำกัดอำนาจรัฐไว้ด้วยกฎหมายที่อำนาจสูงกว่านั่นเอง <ref> [http://etext.lib.virginia.edu/cgi-local/DHI/dhi.cgi?id=dv1-61 Philip P. Wiener, ed., "Dictionary of the History of Ideas: Studies of Selected Pivotal Ideas"], (David Fellman, "Constitutionalism"), vol 1, p. 485, 491-92 (1973-74) ("Whatever particular form of government a constitution delineates, however, it serves as the keystone of the arch of constitutionalism, except in those countries whose written constitutions are mere sham. Constitutionalism as a theory and in practice stands for the principle that there are—in a properly governed state—limitations upon those who exercise the powers of government, and that these limitations are spelled out in a body of higher law which is enforceable in a variety of ways, political and judicial. This is by no means a modern idea, for the concept of a higher law which spells out the basic norms of a political society is as old as Western civilization. That there are standards of rightness which transcend and control public officials, even current popular majorities, represents a critically significant element of man's endless quest for the good life.")</ref>}}
 
รองศาสตราจารย์ ดร.นันทวัฒน์ บรมานันท์ [[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ได้อธิบายความหมายของคำว่ารัฐธรรมนูญนิยมไว้ว่า<ref>รองศาสตราจารย์ ดร.นันทวัฒน์ บรมานันท์ [[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]. http://www.pub-law.net/Publaw/view.asp?PublawIDs=589</ref>