ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเน่าเปื่อย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 19:
หลังจากการเน่าสลายตัวในระยะแรก อวัยวะบางส่วนจะเกิดจากหลุดลอก หลังจากในช่วงระยะเวลาประมาณ 3-4 วัน เนื้อเยื่อจะเริ่มสลายตัวมากยิ่งขึ้นจนเริ่มมองเห็น[[กระดูก]]บริเวณ[[หน้าผาก]]หรือ[[โหนกแก้ม]] ซึ่งการเน่าสลายตัวของร่างกายในช่วงระยะเวลานี้ จะใช้เวลาประมาณ 7 วันและเริ่มมากขึ้นจนเห็นมอง[[กระดูกซี่โครง]]และ[[อวัยวะ]]ภายในช่องอกที่เน่าสลายตัวอยู่ภายใน เมื่อเวลาประมาณ 2 อาทิตย์การเน่าสลายตัวจะเพิ่มมากขึ้นจนเกิดการสลายตัวในช่องท้อง จนสามารถมองเห็นอวัยวะต่าง ๆ ได้เกือบหมดในช่วงระยะเวลาประมาณ 3 อาทิตย์ และเมื่อ 4 อาทิตย์หลังจากตาย ร่างกายจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหลังการตายและการเน่าสลายตัวจนมองเห็นกระดูกเกือบทั้งตัว
 
หลังจากนั้น เนื้อเยื่อก็ภายในร่างกายยังคงสลายตัวต่อไปจน[[เส้นเอ็น]]ต่างที่ยึดตามข้อกระดูกเริ่มหลุดออกจากกัน [[กระดูกนิ้วมือ]][[กระดูกนิ้วเท้า]]หลุดแยกออกจากกัน [[ข้อมือ]] [[ข้อเท้า]]หลุดออกจากกันจนถึง การเน่าสลายตัวของร่างกายในช่วงระยะเวลานี้จะใช้เวลาประมาณ 3 เดือนจะ พบว่ามีร่างกายจะคงเหลือเพียง[[กระดูกสันหลัง]]เท่านั้นที่ยังคงยึดติดกันอยู่ได้พอถึง และในช่วงระยะเวลา 6 เดือนหลังจากตาย กระดูกทุกชิ้นในร่างกายจะหลุดออกจากกันจนเกือบหมดแต่ และยังอาจจะได้กลิ่นเหม็นเน่าของกระดูกอยกระดูกอยู่ ซึ่งกลิ่นเน่านี้อาจจะมีต่อไปอีกนานหลายเดือนกว่าจะหมดกลิ่น ในช่วงระยะเวลาประมาณว่า 1 ปี ศพจะคงเหลือแต่เพียงโครงกระดูกขาวโพลน ปราศจากเนื้อเยื่อใด ๆ หลงเหลืออยู่อีกต่อไป
 
== การเน่าสลายในความร้อน ==
บางครั้งศพที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่อากาศร้อนและแห้ง ร่างกายอาจเกิดเป็น[[มัมมี่]] ({{lang-en|Mummification}}) โดยผิวหนังเริ่มเปลี่ยนสีออกไปเป็นลักษณะคล้ายหนังหมูตากแห้ง แต่เนื่อเยื่อภายในจะยังคงสลายตัวต่อไป เพราะฉะนั้นจะพบร่างกายแฟบลงเหลือแต่หนังหุ้มกระดูกอยู่
 
บางครั้งศพที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่อากาศร้อนและแห้งจัดเช่นในทะเลทราย ร่างกายอาจเกิดเป็น[[มัมมี่]] ({{lang-en|Mummification}}) ขึ้น โดยบริเวณผิวหนังทั่วทั้งร่างกายเริ่มเปลี่ยนสี จากสีผิวหนังเดิมเกิดการเปลี่ยนแปลงออกไปเป็นลักษณะคล้ายหนังหมูตากแห้ง แต่เนื่อเยื่อภายในจะยังคงสลายตัวต่อไป เพราะฉะนั้นดังนั้นเมื่อมีการค้นพบมันมี่ จะสามารถพบร่างกายที่ครบถ้วนสมบูรณ์ แต่ผิวหนัง ใบหน้า นิ้วมือนิ้วมือจะแฟบลงเหลือแต่หนังหุ้มกระดูกอยู่เท่านั้น ซึ่งการเน่าสลายในสภาพแวดล้อมที่มีอากาศเย็นหรือในโคลนตม จะเป็นการช่วยรักษาสภาพของศพไม่ให้เกิดการเน่าสลายตามธรรมชาติได้อีกด้วย
การเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่ออีกแบบหนึ่งที่จะทำให้เนื้อเยื่อไม่สลายตัวเรียกว่าอดิโพเซีย ({{lang-en|Adipocere}}) เนื่องจากแบคทีเรียบางชนิดเช่น Clostridium Perfringens เกิดปฏิกริยาให้เนื้อเยื่อไขมันเกิดการเปลี่ยนเป็นกรดบางประเภท Oleic, Palmitic and Stearic Acid ทำให้เนื้อก้อนนั้นมีลักษณะคล้ายก้อนขี้ผึ้ง สีออกเทาถึงน้ำตาล มักพบในบริเวณเนื้อเยื่อไขมันในศพที่มักจะอยู่ในน้ำ ซึ่งต่อไปจะแข็งตัวแห้งเป็นของแข็งที่เปราะได้
 
การเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่ออีกแบบหนึ่งที่จะทำให้เนื้อเยื่อไม่สลายตัวเรียกว่าอดิโพเซีย ({{lang-en|Adipocere}}) เนื่องจากแบคทีเรียบางชนิดเช่น Clostridium Perfringens เกิดปฏิกริยาให้เนื้อเยื่อไขมันเกิดการเปลี่ยนเป็นกรดบางประเภท Oleic, Palmitic and Stearic Acid ทำให้เนื้อก้อนนั้นมีลักษณะคล้าย[[ขี้ผึ้ง|ก้อนขี้ผึ้ง]] สีออกเทาถึงน้ำตาล และมักพบในบริเวณเนื้อเยื่อ[[ไขมัน]]ในศพที่มักจะอยู่ในน้ำ ซึ่งต่อไปจะแข็งตัวแห้งเป็นของแข็งที่เปราะได้
 
== ดูเพิ่ม ==