ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลุมดำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Celiviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Celiviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
</ref><ref> Laplace; see Israel, Werner (1987) , "Dark stars: the evolution of an idea", in Hawking, Stephen W. & Israel, Werner, 300 Years of Gravitation, Cambridge University Press, Sec. 7.4</ref> ตามความเข้าใจล่าสุด หลุมดำถูกอธิบายโดย[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] ซึ่งทำนายว่าเมื่อมีมวลขนาดใหญ่มากในพื้นที่ขนาดเล็ก เส้นทางในพื้นที่ว่างนั้นจะถูกทำให้บิดเบี้ยวไปจนถึงศูนย์กลางของปริมาตร เพื่อไม่ให้วัตถุหรือรังสีใดๆ สามารถออกมาได้
 
ขณะที่ทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไปอธิบายว่าหลุมดำเป็นพื้นที่ว่างที่มีความเป็น[[เอกภาวะ]]ที่จุดศูนย์กลางและที่ขอบฟ้าเหตุการณ์บริเวณขอบ คำอธิบายนี่เปลี่ยนไปเมื่อค้นพบ[[กลศาสตร์ควอนตัม]] การค้นคว้าในหัวข้อนี้แสดงให้เห็นว่านอกจากหลุมดำจะดึงวัตถุไว้ตลอดกาล แล้วยังมีการค่อย ๆ ปลดปล่อยพลังงานภายใน เรียก [[รังสีฮอวคิง(Hawking radiation]]) และอาจสิ้นสุดลงในที่สุด <ref>Hawking, Stephen (1974). "Black Hole Explosions". Nature 248: pp. 30–31. doi:10.1038/248030a0.</ref> <ref>McDonald, Kirk T. (1998) , Hawking-Unruh Radiation and Radiation of a Uniformly Accelerated Charge, http://www.hep.princeton.edu/~mcdonald/accel/unruhrad.pdf </ref><ref> Hawking & Penrose 1996, p. 44.</ref> อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีคำอธิบายเกี่ยวกับหลุมดำที่ถูกต้องตาม[[ทฤษฎีควอนตัม]]
 
== ที่มาของชื่อ ==
คำว่า '''หลุมดำ''' ({{lang-en|black hole}}) ที่ใช้อธิบายปรากฏการณ์นี้จากช่วงกลางทศวรรษ 1960 แม้ไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่นอน นักฟิสิกส์ชื่อ จอห์น วีลเลอร์ ([[John Wheeler]]) เป็นผู้บัญญัติศัพท์คำนี้ขึ้นในสัมมนาเรื่อง ''เอกภพของเรา : สิ่งที่รู้และไม่รู้'' (Our Universe : the Known and Unknown) ของเขาในปี 1967 แทนคำเดิมที่ยาวกว่า คือ ''ดาวที่ยุบตัวอย่างสมบูรณ์โดยความโน้มถ่วง'' (gravitationally completely collapsed star) อย่างไรก็ตามวีลเลอร์ได้ยืนกรานว่าคนอื่นในการสัมมนาก็ได้ช่วยกันบัญญัติเพียงแต่เขาปรับให้ดูสั้นและเหมาะกับการใช้เท่านั้น คำนี้ได้ถูกใช้ในจดหมายโดย แอนน์ อิวอิง ถึง [[AAAS]] ในปี 1964 <ref>Michael Quinion. "Black Hole". World Wide Words. Retrieved on 2008-06-17.</ref> ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของ[[ไอน์สไตน์]] เมื่อเพิ่มมวลให้กับดาวที่กำลังจะหมดอายุขัย การยุบตัวลงอย่างรวดเร็วจะทำให้เกิดสนามโน้มถ่วงที่รุนแรง และจะปิดตัวมันเองลง จนกลายเป็นหลุมดำในเอกภพ
 
วลีนี้ได้ถูกรวมเข้าด้วยกันโดยบังเอิญในเหตุการณ์ [[หลุมดำแห่งกัลกัตตา]] (Black Hole of Calcutta]]) เมื่อ ค.ศ. 1756 ซึ่งชาวยุโรป 146 คนถูกลงโทษและกักขังข้ามคืนที่ฟอร์ต [[วิลเลียม (Fort William]]) โดย Siraj-ud-Daulah และเหลือผู้รอดชีวิต 23 คน<ref>"Online Etymology Dictionary".</ref>
 
== อะไรทำให้สสารหลุดจากหลุมดำไม่ได้ ==
บรรทัด 40:
เหตุผลที่นิยมจะนำมาอธิบายปรากฏการณ์หลุมดำก็คือแนวคิดเกี่ยวกับ[[ความเร็วหลุดพ้น]] ความเร็วนี้เป็นที่ต้องการสำหรับการเริ่มต้นที่ผิวของวัตถุขนาดใหญ่เพื่อที่จะหลุดจากสนามโน้มถ่วงของวัตถุใด ๆ แนวคิดนี้มาจากกฎความโน้มถ่วงของนิวตันที่ความเร็วหลุดพ้นของวัตถุหนาแน่นเพียงพอจะเท่ากับหรือมากกว่า[[ความเร็วแสง]] มีการกล่าวอ้างว่าไม่มีอะไรที่จะมากกว่าความเร็วแสงได้ จึงสรุปได้ว่าไม่มีสสารใดจะสามารถหนีจากวัตถุที่หนาแน่นขนาดนี้ได้<ref>An example of this reasoning can be found on this website created by students from Tufts university.</ref> อย่างไรก็ดี ข้อขัดแย้งนี้ก็ยังมีช่องโหว่ที่ไม่สามารถอธิบายได้ว่าทำไมแสงจึงมีผลต่อวัตถุที่มีแรงโน้มถ่วง หรือเหตุใดมันจึงไม่สามารถหลุดออกมาได้ และก็ไม่สามารถอธิบายว่าทำไมยานอวกาศที่มีกำลังส่งไม่สามารถที่จะหยุดได้อย่างอิสระ
 
สองแนวคิดของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]ต้องนำมาใช้อธิบายปรากฏการณ์ แนวความคิดแรกก็คือเวลาและอวกาศ (time and space) นั้นไม่ใช่แนวคิดที่จะแยกออกจากกัน แต่มีความเกี่ยวข้องกันและรวมเรียกเป็น[[กาลอวกาศ]] ([[spacetime]]) ความเกี่ยวข้องนี้มีลักษณะพิเศษ คือ วัตถุจะไม่สามารถเคลื่อนที่ในกาลอวกาศได้อย่างอิสระ มันจะเคลื่อนที่นำหน้าเวลาและไม่สามารถเปลี่ยนแปลงตำแหน่งในอวกาศได้เร็วกว่าความเร็วแสง และนี่คือผลลัพธ์[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ]]
 
แนวคิดที่สองอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป คือมวลจะถูกทำให้ผิดรูปร่างอยู่ในกาลอวกาศนี้ ผลกระทบของมวลในกาลอวกาศนี้อธิบายให้รู้ว่าเมื่อทิศทางของเวลาเบี่ยงเบนไปข้างหน้ามวล มีผลให้วัตถุจะเคลื่อนที่นำหน้ามวล นี่เป็นประสบการณ์จากความโน้มถ่วง ผลกระทบจากความเบี่ยงเบนนี้ทำหน้าระยะทางคล้ายกับจะสั้นลง ในบางจุดใกล้มวล ความเบี่ยงเบนนี้จะมากขึ้นทำให้เส้นทางที่เป็นไปได้ทั้งหมดของวัตถุสามารถนำหน้ามวลได้ทั้งสิ้น<ref>{{Citation |last=Townsend |first=P.K. |title=Black Holes |url=http://www.arxiv.org/abs/gr-qc/9707012 |page=18}}. Lecture notes for a Cambridge Part III course.</ref> นั่นก็หมายความว่าวัตถุใด ๆ ที่ผ่านจุดนี้ไปแล้วจะไม่สามารถไปได้ไกลกว่ามวล แม้ว่าจะมีกำลังจากการบิน โดยเรียกจุดนี้ว่า [[ขอบฟ้าเหตุการณ์]]
บรรทัด 46:
== คุณสมบัติ : มวล,ประจุ,และโมเมนตัมเชิงมุม ==
 
ตามทฤษฎี [[No hair theorem|"No Hair" theorem]] หลุมดำมีคุณสมบัติทางกายภาพที่แยกออกจากกัน 3 คุณสมบัติได้แก่ [[มวล]],[[ประจุอิเลคตรอน]] และ[[โมเมนตัมเชิงมุม]]<ref>{{citation|last=Heusler |first=M. |year=1998 |title=Stationary Black Holes: Uniqueness and Beyond |journal=Living Rev. Relativity |volume=1 |number=6 |url=http://www.livingreviews.org/Articles/Volume1/1998-6heusler/}}</ref> หลุมดำสองหลุมใด ๆ จะมีค่าคุณสมบัติเหล่านี้เหมือน ๆ กัน ข้อเปรียบเทียบนี้แตกต่างจากวัตถุทางดาราศาสตร์อื่น ๆ เช่น ดาวที่มีมากมายจนอาจจะไม่สามารถวัดได้หมด ดังนั้นการสูญหายของดาวที่สลายตัวเป็นหลุมดำถือเป็นเรื่องใหญ่ เนื่องจากทฤษฎีทางฟิสิกส์ส่วนใหญ่จะถูกเก็บไว้ การสูญหายของข้อมูลในหลุมดำจึงคล้ายกับต้องนำมาปะติดปะต่อกัน นักฟิสิกส์เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า [[black hole information paradox]]
 
ทฤษฎี "No Hair" มี[[สมมติฐาน]]บางอย่างเกี่ยวกับธรรมชาติของเอกภพ และสสารในเอกภพ สมมติฐานอื่นๆ จะนำไปสู่บทสรุปที่ต่างไป ตัวอย่างเช่น ถ้าธรรมชาติให้มีแม่เหล็กขั้วเดียว [[(magnetic monopole]]) และเป็นทฤษฎีที่เป็นไปได้ แต่ไม่เคยถูกสังเกต ก็น่าจะเป็นไปได้สำหรับหลุมดำที่จะมีประจุแม่เหล็ก[[(magnetic charge]]) ถ้าเอกภพมีมากกว่า 4 มิติ (เหมือนที่กล่าวไว้ใน[[ทฤษฎีสตริง]] หรือมีความเป็นทรงกลม [[Anti de Sitter space|anti-de Sitter]] ทฤษฎีทั้งหมดจะผิด จากแหล่งต่าง ๆ ของเส้นผม ("hair") อย่างไรก็ตาม ในมิติของพวกเราที่ปรากฏเป็น 4 มิติ จะดูกคล้ายกับเอกภพที่มีลักษณะแบน ๆ<ref>{{citation| author=Hinshaw, G. et al. |title=Five-Year Wilkinson Microwave Anisotropy Probe (WMAP) Observations: Data Processing, Sky Maps, and Basic Results |year=2008 |url=http://arxiv.org/abs/0803.0732}}.</ref>
 
=== ประเภทของหลุมดำ ===
หลุมดำที่เกิดขึ้นได้ง่ายที่สุดคือแบบที่มีมวลแต่ไม่มีประจุและโมเมนตัมเชิงมุม หลุมดำประเภทนี้จะเรียกว่า [[Schwarzschild metric|Schwarzschild black hole]]หลุมดำชวาร์สชิลด์ ตามชื่อนักฟิสิกส์ผู้ค้นพบคำตอบในปี 1915 ชื่อ[[คาร์ล ชวาร์สชิลด์]]<ref name="Schwarzschild1916">{{Citation
| last = Schwarzschild
| first = Karl
บรรทัด 69:
}}.</ref> นี่เป็นคำอธิบายที่แม่นยำแรกสำหรับ[[สมการไอน์สไตน์]]และจาก[[ทฤษฎีเบอร์ชอฟฟ]] คำอธิบายเดียวใน[[สุญญากาศ]]นั่นคือสมมาตรทรงกลม ในโลกแห่งความจริงของฟิสิกส์ นี่หมายความว่าไม่มีการสังเกตการณ์ใด ๆ ที่จะมองเห็นความแตกต่างระหว่างสนามความโน้มถ่วงของหลุมดำและของวัตถุทรงกลมที่มีมวลเท่ากัน ตัวอย่างเช่น ดาวทรงกลมหรือดาวเคราะห์ที่อยู่ในอวกาศว่างเปล่าภายนอกวัตถุ ทำให้ข้อสังเกตที่ว่าหลุมดำจะดูดทุกสิ่งรอบตัวมันเข้าไปนั้นไม่ถูกต้อง สนามโน้มถ่วงภายนอกที่ห่างจากขอบฟ้าเหตุการณ์นั้นก็เหมือนกับที่อยู่บนวัตถุขนาดใหญ่ธรรมดา
 
คำอธิบายสำหรับหลุมดำที่กว้างกว่านั้นถูกค้นพบภายหลังในศตวรรษที่ 20 เรียกว่า Theคำตอบของไรน์เนอร์ [[Reissner-Nordström metric|Reissner-Nordström solution]]นอร์ดสตรอม อธิบายไว้ว่าหลุมดำที่มีประจุไฟฟ้า ขณะเดียวกันกับที่ [[คำตอบของเคอร์]] แสดงให้เห็นว่ามีการหมุนของหลุมดำ และคำอธิบายที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดสำหรับหลุมดำที่อยู่กับที่คือ [[มาตรวัดของเคอร์-นิวแมน(Kerr-Newman metric]]) ที่มีทั้งประจุและโมเมนตัมเชิงมุม คำอธิบายเหล่านี้เป็นการนำคุณสมบัติทั้งหลายของชวาร์สชิลด์เขาด้วยกันและเป็นการเปรียบเทียบอัตราส่วนของประจุและโมเมนตัมเชิงมุมของมวลอีกด้วย (ในหน่วยธรรมชาติ [[(natural units]]).
 
ขณะที่หลุมดำสามารถที่จะมีค่าบวกใด ๆ ก็ได้แต่คุณสมบัติอื่น ๆ อันได้แก่ประจุและโมเมนตัมเชิงมุมนั้นจะต้องขึ้นกับมวล ในหน่วยธรรมชาติ ในหน่วยธรรมชาตินี้ ประจุรวม ''Q'' และโมเมนตัมเชิงมุมลัพธ์ ''J'' จะเป็นไปตามความสัมพันธ์ ''Q''<sup>2</sup>+ (''J''/''M'') <sup>2</sup> ≤ ''M''<sup>2</sup> สำหรับหลุมดำมวล ''M'' หลุมดำจะเต็มไปด้วยความไม่เท่ากันของความสัมพันธ์นี้เรียกว่า [[เอ็กซ์ตรีมอลแบล็คโฮล]] คำอธิบายสมการไอน์สไตน์มีผลในส่วนนี้ยกเว้นบริเวณขอบ คำอธิบายเหล่านี้มีเอกภาวะที่ชัดเจนและถือว่าไม่เป็นกายภาพ ''unphysical'' [[ทฤษฎีรังสีคอสมิก]] ( [[cosmic censorship hypothesis]]) กล่าว่าไม่มีทางเป็นได้ที่เอกภาวะจะเกิดขึ้นเนื่องจากการสลายของความโน้มถ่วงของสภาพแท้จริงของวัตถุทั่วไป<ref>For a review see {{citation |last=wald |first=Robert. M. |author-link=Robert Wald |title=Gravitational Collapse and Cosmic Censorship |year=1997 |url=http://arxiv.org/abs/gr-qc/9710068}}.</ref> สามารถอธิบายได้โดยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ สำหรับการอภิปรายในหัวข้อนี้ดู <ref>{{Citation| last=Berger | first=Beverly K. | year=2002 | url=http://www.livingreviews.org/lrr-2002-1 | title=Numerical Approaches to Spacetime Singularities | journal=Living Rev. Relativity | volume=5 |access-date=2007-08-04}}.</ref>
 
การเกิดหลุมดำนั้นจะเกิดจากการยุบลงของดาวเนื่องจากความแรงของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าขนาดใหญ่ [[electromagnetism|electromagnetic force]] แต่ก็ยังคงมีประจุที่เป็นกลางของดาวอยู่ กระนั้นการหมุนที่คาดว่าจะเป็นลักษณะสำคัญของวัตถุ และหลุมดำที่ถือว่าแหล่งกำเนิดของแหล่งของรังสีเอกซ์นั้น [[GRS 1915+105]]<ref>{{citation |first1=Jeffrey E. |last1=McClintock |first2=Rebecca |last2=Shafee |first3=Ramesh |last3=Narayan |first4=Ronald A. |last4=Remillard |first5=Shane W. |last5=Davis |first6=Li-Xin |last6=Li |title=The Spin of the Near-Extreme Kerr Black Hole GRS 1915+105 |journal=Astrophys.J. |volume=652 |year=2006 |pages=518-539 |url=http://arxiv.org/abs/astro-ph/0606076}}.</ref> ปรากฏว่ามีโมเมนตัมเชิงมุมใกล้เคียงค่าสูงสุด
 
=== ขนาดของหลุมดำ ===
บรรทัด 94:
test of general relativity |journal=Nature |year=2008 |volume=452 |doi=10.1038/nature06896 |pages=851}}</ref>
 
* [[หลุมดำขนาดกลาง]] มีขนาดพันพันเท่าของมวลดวงอาทิตย์ เชื่อว่าเป็นแหล่งพลังงานของรังสีเอกซ์ที่มีความเข้มมาก ๆ [[ultra-luminous X ray source]] ไม่มีหลักฐานการเกิดของหลุมดำขนาดนี้ สันนิษฐานว่าอาจเกิดจากการชนกันของมวลขนาดต่ำกว่าหลุมดำ อาจจะเป็นแก่นส่วนที่หนาแน่นของดาวในส่วนที่เป็น[[กระจุกดาวทรงกลม]] หรือกาแล็กซี่ เหตุการณ์นี้ทำให้เกิดการระเบิดรุนแรงของคลื่นความโน้มถ่วง ขอบเขตระหว่าง super- หลุมดำมวลยิ่งยวดและ intermediate-mass black holesหลุมดำมวลขนาดกลาง คือสสารภายใน ด้วยมวลที่ต่ำกว่ามวลที่มากสุดในการที่หลุมดำหลุมหนึ่งจะฟอร์มตัวจากการยุบ ของดาวทำให้หลุมดำขนาดนี้ไม่ค่อยมีข้อมูลในปัจจุบัน
 
* [[หลุมดำจากดาวฤกษ์|Stellar-mass black holes]] มีมวลประมาณ 1.5–3.0 เท่าของดวงอาทิตย์ (จากขอบเขตของโทลแมน-ออพเพนไฮน์เมอร์-โวลคอฟ] สำหรับมวลมากสุดของดาวนิวตรอน) ถึงประมาณ 15–20 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ และเกิดจากการยุบตัวของดาวเดี่ยว หรืออาจเป็นการรวมกัน (หนีไม่พ้นที่จะเกิดจากรังสีความโน้มถ่วง[[gravitational radiation]]) ของ[[ดาวนิวตรอน]] โดยที่ดาวอาจจะรวมตัวด้วยมวลเริ่มต้น [[Initial mass function|initial masses]] มากถึง ≈100 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ หรือมากกว่าแต่บริเวณชั้นที่หนาภายนอกส่วนใหญ่จะเป็นระยะเริ่มต้นของ วิวัฒนาการ ที่ถ้าไม่ถูกพัดไปโดยลมสุริยะในระหว่างที่เป็น[[ดาวยักษ์แดง]] ก็จะเกิดการระเบิด[[ซูเปอร์โนวา]]สำหรับดาวที่จะกลายเป็นดาวนิวตรอนหรือหลุมดำ จากแบบจำลองทางทฤษฎีส่วนใหญ่สำหรับวิวัฒนาการดาวในขั้นท้าย ๆ ขอบเขตบนสำหรับมวลของดาวที่จะกลายมาเป็นหลุมดำนั้นยังไม่ทราบชัดเจน แก่นของดาวก็ยังเบากว่าดาวที่จะกลายเป็น[[ดาวแคระขาว]]
 
* [[หลุมดำจิ๋ว]] มีมวลน้อยกว่าดาวมาก ผลกระทบจาก[[กลศาสตร์ควอนตัม]]จะถูกนำมาอธิบายประเภทนี้ ไม่มีกลไกใดที่อธิบายการเกิดแบบปกติอย่างวิวัฒนาการดาว แต่แน่นอนว่ารังสีคอสมิค[[cosmic inflation|inflationary]] สามาถทำนายการเกิดของมันในช่วงต้นของการเกิดของเอกภพ ตามทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับ[[ความโน้มถ่วงทางควอนตัม]] ([[quantum gravity]]) พวกมันอาจจะเกิดด้วยแรงปฏิกิริยาที่เกิดจาก[[รังสีคอสมิก]]ไปชนกับ[[บรรยากาศ]] หรือใน[[เครื่องเร่งอนุภาค|ตัวเร่งอนุภาค]] เช่น [[เครื่องเร่งอนุภาคขนาดใหญ่]] ทฤษฎี [[Hawking radiationรังสีฮอวคิง]] ทำนายว่าหลุมดำประเภทนี้จะระเหยไปเป็นรังสีแกมมาที่สว่างวูบ โดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศรังสีแกมมาเฟอร์มีของนาซา (formerly GLAST) ที่ปล่อยในปี 2008 จะค้นหาปรากฏการณ์นี้สำหรับหัวข้อทางวิทยาศาสตร์
 
== ลักษณะสำคัญ ==
บรรทัด 109:
=== เอกภาวะ ===
{{main|Gravitational singularity}}
ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ในบริเวณใจกลางหลุมดำทรงกลมนั้นจะมีเอกภาวะกาลอวกาศอยู่ นั่นหมายถึงสุดโค้งของกาลอวกาศ หมายความว่าจากจุดที่ผู้สังเกตที่กำลังจะเขาสู่หลุมดำ ที่เวลาหนึ่งที่กำลังจะข้ามผ่านจุดนั้นไป หลุมดำจะกลายมาถูกกดอัดเข้าสู่บริเวณที่ปริมาตรเป็นศูนย์ ดังนั้นความหนาแน่นจะไม่มีที่สิ้นสุด ([[Infinity|infinite]])อนันต์ ที่ปริมาตรศูนย์นี้ บริเวณที่มีความหนาแน่นไม่สิ้นสุดจะอยู่บริเวณใจกลางหลุมดำพอดีเรียก [[เอกภาวะความโน้มถ่วง]] ([[gravitational singularity]])
 
เอกภาวะในหลุมดำที่ไม่มีการหมุนนั้นเป็นจุดจุดหนึ่ง หรืออาจกล่าวได้ว่ามันมีความยาว กว้างและลึกเป็นศูนย์ เอกภาวะของหลุมดำที่หมุนได้ ([[rotating black hole]]) จะไม่นับเป็นการก่อสร้างของเอกภาวะที่เป็นวง [[(ring singularity|ring shape]]) ที่อยู่นอกระนาบการหมุน ในวงแหวนนั้นจะไม่มีความหนาและไม่มีปริมาตร
 
การปรากฏของเอกภาวะเป็นที่เข้าใจว่าเป็นสัญญาณของจุดสิ้นสุดของทฤษฎีทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป โดยไม่คาดคิด เหมือนกับที่เกิดเมื่อกลศาสตร์ควอนตัมมีผลกระทบและกลายมาเป็นความสำคัญ เนื่องจากความกดดันมีมากและอนุภาคก็มีผลกระทบซึ่งกันและกัน โชคไม่ดีที่ไม่สามารถที่จะรวมทฤษฎีควอนตัมและความโน้มถ่วงเข้าด้วยกันได้ แต่อย่างไรก็ตามก็คาดว่าทฤษฎีโน้มถ่วงควอนตัมจะแสดงลักษณะเด่นของหลุมดำโดยไม่มีเอกภาวะ
 
อย่างไรก็ตาม การก่อตัวของเอกภาวะอาจใช้เวลาจำกัดมากจากจุดที่ผู้สังเกตการยุบตัวของวัตถุ แต่จากจุดที่ไกลจากผู้สังเกตอาจจะใช้เวลาไม่สิ้นสุดเนื่องจาก[[การยืดเวลาเนื่องจากความโน้มถ่วง[[]](gravitational time dilation]]).
 
=== ทรงกลมโฟตอน ===
บรรทัด 123:
เมื่อแสงสามาถหนีจากภายในทรงกลมโฟตอนได้ ไม่ว่าจะเป็นแสงใดที่สามารถข้ามผ่านทรงกลมโฟตอนในเส้นทางโคจรภายในจะถูกจับโดยหลุมดำ ดังนั้นแสงใด ๆ ที่อยู่นอกผู้สังเกตจากภายในทรงกลมโฟตอนจะต้องมีการแผ่ออกมาจากวัตถุภายในทรงกลมโฟตอนแต่ก็ยังอยู่นอกขอบฟ้เหตุการณ์อยู่ดี
 
วัตถุรวมตัวกันแน่นอื่น ๆ เช่น[[ดาวนิวตรอน]] ([[neutron stars]]) ก็สามารถมีทรงกลมโฟตอนได้เช่นกัน<ref>
{{citation |first=Robert J. |last=Nemiroff |title=Visual distortions near a neutron star and black hole |journal= American Journal of Physics |volume=61 |pages=619 |year=1993}}</ref> ในความเป็นจริงสนามความโน้มถ่วงของวัตถุนี้ไม่ขึ้นกับขนาดที่แท้จริง ดังนั้นวัตถุใด ๆ ก็ตามที่มีขนาดเล็กกว่า 1.5 เท่าของรัศมีชวาร์สชิลด์ก็จะมีทรงกลมโฟตอนได้
 
บรรทัด 129:
[[ภาพ:Ergosphere.svg|thumb|right|250px|ergosphere of a rotating black hole|The ergosphere is an oblate spheroid region outside of the event horizon, where objects cannot remain stationary.]]
{{main|Ergosphere}}
หลุมดำที่หมุนได้จะถูกล้อมรอบด้วยบริเวณกาลอวกาศที่ไม่สามารถจะอยู่นิ่งได้เรียก [[ เออร์โกสเฟียร์]] เป็นผลมาจาก[[กระบวนการย้ายกรอบ]] ([[frame-dragging]]) ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปทำนายว่ามวลที่หมุนใด ๆ จะมีการค่อย ๆ ผ่านพ้นไปตามกาลอวกาศทันทีรอบตัวมันเอง วัตถุใด ๆ ใกล้ ๆ กับมวลที่หมุนได้จะเริ่มเคลื่อนในทิศทางที่กำลังจะหมุน ผลกระทบสำหรับหลุมดำที่กำลังหมุนนี้จะรุนแรงมากขึ้นใกล้กับขอบฟ้าเหตุการณ์ที่วัตถุใด ๆ สามารถเคลื่อนที่เร็วกว่าความเร็วแสงในทิศทางตรงข้าม
 
เออร์โกสเฟียร์ ของหลุมดำถูกล้อมรอบโดย
บรรทัด 139:
วัตถุและรังสีรวมไปถึงแสงสามารถที่จะคงอยู่ในวงโคจรภายใน เออร์โกสเฟียร์ได้โดยไม่ตกลงในใจกลาง แต่พวกมันไม่สามารถอยู่ใกล้ แต่จะคงที่เหมือนกับที่สามารถสังเกตเห็นได้โดยผู้สังเกตจากภายนอก เพราะว่านั่นสามารถที่จะทำให้มันเคลื่อนที่ถอยหลังได้เร็วกว่าแสงสัมพัทธ์กับบริเวณกาลอวกาศของมันที่เคลื่อนที่เร็วกว่าความเร็วแสงสัมพัทธ์ของผู้สังเกตภายนอก
 
วัตถุและรังสีสามารถที่จะหนีจาก เออร์โกสเฟียร์ ในความเป็นจริงแล้วกระบวนการเพนโรส ([[Penrose process]]) ทำนายว่าวัตถุจะบินหนีจาก ergosphereเออโกสเฟียร์ โดยขโมยพลังงานบางส่วนออกมาจากหลุมดำหมุนได้ด้วย ถ้ามวลขนาดใหญ่ของวัตถุหนีด้วยวิธีการนี้หลุมดำจะค่อย ๆ หมุนช้าลงและหยุดไปในที่สุด
 
=== รังสี ฮอว์คิง ===
บรรทัด 145:
ในปี 1974 [[สตีเฟน ฮอว์คิง]] ได้แสดงว่าหลุมดำเป็นสีดำทั้งหมดแต่แผ่รังสีความร้อนจำนวนหนึ่งออกมา<ref name=Hawking1974>{{Citation|last=Hawking |first=S.W. |title=Black hole explosions? |journal=nature |year=1974 |volume=248 |pages=30–31 |url=http://www.nature.com/nature/journal/v248/n5443/abs/248030a0.html |doi=10.1038/248030a0}}</ref> เขาได้คำตอบโดยการประยุกต์ทฤษฎีสนามควอนตัม [[quantum field theory]] ในพื้นหลุมดำสถิตย์ ผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณก็คือหลุมดำควรจะปลดปล่อยอนุภาคในรูปสเปกตรัมของ[[วัตถุดำ]] ซึ่งผลนี้เป็นที่รู้จักในเวลาต่อมาว่ารังสีฮอว์คิง เมื่อผลลัพธ์จากฮอว์คิงอาจจะขยายผลไปได้อีกกับผลกระทบจากระเบียบวิธีอื่น ๆ <ref>{{Citation|last=Page |first=Ron N.|title=Hawking Radiation and Black Hole Thermodynamics |year=2005 |journal=New.J.Phys. |volume=7 |number=203 |url=http://arxiv.org/abs/hep-th/0409024 |doi=10.1088/1367-2630/7/1/203|pages=203}}</ref>
 
อุณหภูมิของการแผ่รังสีของสเปกตรัมของวัตถุดำเป็นปฏิภาคกับความโน้มถ่วงพื้นผิว ([[surface gravity]]) ของหลุมดำ สำหรับหลุมดำของชวาร์สชิลด์ เป็นส่วนกลับกับมวล ดังนั้นหลุมดำขนาดใหญ่จะอุณหภูมิต่ำมากและแผ่รังสีที่มีขนาดเล็กมาก หลุมดำที่เกิดจากการระเบิดของดาวที่มีมวล 10 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ เช่น อาจจะมีอุณหภูมิฮอว์คิงในหลาย ๆ นาโนเคลวินน้อยกว่า 2.7K เกิดจากพื้นหลัง[[รังสีไมโครเวฟคอสมิก]] ([[Cosmic Microwave Background]]) ส่วนหลุมดำจิ๋วนั้นควรจะค่อนข้างสว่างเนื่องจากผลิตพลังงานสูงจากรังสีแกมมา
 
อย่างไรก็ตามก็ยังไม่มีการสำรวจ รังสีฮอว์คิงที่หลุมดำใด ๆ
บรรทัด 154:
=== กระบวนการสปาเกตตี้ ===
{{main|spaghettification}}
วัตถุที่อยู่ภายใต้แรงดึงดูดขนาดใหญ่จะสัมผัสได้ถึงแรงไทดอล([[tidal force]]) ที่ทำให้มันไปในทิศทางของวัตถุที่ก่อให้เกิดสนามโน้มถ่วง นี่อาจจะเกิดจากกฎกำลังสองผกผันทำให้ส่วนที่ใกล้กว่าของวัตถุที่ถูกแผ่ออกสัมผัสกับแรงดึงดูดได้เร็วกว่าส่วนที่อยู่ไกลกว่า ใกล้ ๆ กับหลุมดำ แรงไทดอลจะถูกคาดหวังว่าจะเพียงพอที่จะทำให้วัตถุตกลงไป ไม่ว่าจะเป็นอะตอม หรือนิวคลีออน เรียกปรากฏการณ์นี้ว่ากระบวนการสปาเกตตี้[[(spaghettification]]) กระบวนการสปาเกตตี้ นี้จะเริ่มจากวัตถุที่ตกลงไปในหลุมดำจะแยกเป็นสองส่วน และจากนั้นแต่ละส่วนก็จะแยกออกเป็นอีกสองส่วนรวมเป็นสี่ แล้วก็แยกเป็นแปด กระบวนการแยกออกเป็นสอง ([[bifurcation]]) นี้จะดำเนินไปเรื่อย ๆ และผ่านจุดที่จะแยกวัตถุต้นแบบในระดับอะตอม และสุดท้ายกระบวนการนี้จะทำให้วัตถุกลายเป็นสตริงของอนุภาคพื้นฐาน
 
ความแรงของ tidal force ของหลุมดำขึ้นกับค่าความโน้มถ่วงนั้นเปลี่ยนแปลงระยะอย่างไรมากกว่าที่จะคิดถึงแรงสัมบูรณ์ที่ตกลงไป นั่นหมายความว่าหลุมดำขนาดเล็กจะเกิดปรากฏการณ์สปาเกตตี้เมื่อวัตถุที่ตกลงไปนั้นยังอยู่ภายนอกขอบฟ้าเหตุการณ์ ขณะที่วัตถุที่ตกลงไปในหลุมดำขนาดใหญ่นั้นอาจไม่ผิดแผลกแตกต่างไป หรืออาจจะไปสัมผัสแรงขนาดใหญ่ที่ผ่านขอบฟ้าเหตุการณ์ไป
 
=== ก่อนที่วัตถุที่ตกลงไปจะข้ามขอบฟ้าเหตุการณ์ ===
วัตถุที่อยู่ในสนามความโน้มถ่วงจะมีเวลาที่ช้าลงเรียกว่าการยืดของช่วงเวลาจากความโน้มถ่วง ([[gravitational time dilation]]) สัมพันธ์กับผู้สังเกตภายนอกสนาม โดยผู้สังเกตจะมองเห็นกระบวนการทางกายภาพรวมไปถึงนาฬิกาที่เดินช้าลงเช่นกัน เมื่อวัตถุที่นำมาทดลองได้ผ่านขอบฟ้าเหตุการณ์ไปนั้น พบว่าเกิด การยืดของช่วงเวลาอันมีผลมาจากความโน้มถ่วง (เมื่อวัดโดยผู้สังเกตจากระยะไกลหลุมดำ) จนเข้าใกล้ค่าอนันต์ หรือก็คือเวลาจะหยุดลง
 
จากมุมมองของผู้สังเกตการณ์ที่อยู่ไกล วัตถุที่ตกลงไปนั้นอาจจะเคลื่อนที่ช้าลง เมื่อเข้าใกล้แต่คล้ายกับว่าจะไม่ไปถึงขอบฟ้าเหตุการณ์ได้ และมีลักษณะที่แดงและมืดทึบลงเนื่องจากเกิดการเลื่อนของสเปกตรัมไปในทิศทางที่มีความยาวคลื่นเพิ่มขึ้น เรดชิฟท์ที่เกิดขึ้นโดยความโน้มถ่วงจากหลุมดำ ในที่สุดวัตถุนั้นจะค่อนข้างมืดลงไปจนไม่สามารถมองเห็นได้ ที่จุดก่อนที่จะเข้าใกล้ขอบฟ้าเหตุการณ์ ทั้งหมดนี้เป็นผลมาจากการยืดของช่วงเวลา ซึ่งการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นกระบวนการหนึ่งที่ช้าลงเรื่อยๆ และการยืดของช่วงเวลานี้มีผลกระทบมากกว่าค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงเสียอีก โดยที่[[ความถี่]]ของแสงมีค่าลดลง และทำให้ดูราวกับว่ามีสีแดงมากขึ้น เนื่องจากแสดงเคลื่อนที่ไปครบรอบใช้เวลาน้อยกว่าการเคลื่อนของเข็มนาฬิกาของผู้สังเกตในหนึ่งวินาที ความถี่ที่ต่ำลงมีพลังงานที่ลดลงและมีความทึบและเป็นสีแดงมากขึ้น
 
จากมุมมองการตกของวัตถุ ระยะที่วัตถุปรากฏ [[บลูชิฟท์]]([[Blue shift|blue-shifted]]) หรือการที่สเปกตรัมเคลื่อนที่เข้าหาผู้สังเกต และมีความยาวคลื่นสั้นลงอันเนื่อเคลื่อนที่เข้าหาผู้สังเกต จะมีความยาวคลื่นสั้นลงมาจากค่าสนามโน้มถ่วงของหลุมดำ ปรากฏการณ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของหรือเป็นส่วนกลับของ เรดชิพท์([[Redshift|red shiftเรดชิฟท์]](Redshift) ที่เกิดขึ้นโดยความเร็วของการตกของวัตถุเมื่อเทียบกับระยะทาง
 
=== เมื่อวัตถุผ่านขอบฟ้าเหตุการณ์ ===
บรรทัด 169:
 
=== ภายในขอบฟ้าเหตุการณ์ ===
เมื่อวัตถุผ่านไปที่เอกภาวะที่ศูนย์กลางด้วยค่าเวลาที่เหมาะสม ([[proper time]]) จากการวัดโดยใช้วัตถุที่ตกลงไปนั้น ผู้สังเกตที่อยู่บนวัตถุจะเห็นความต่อเนื่องของวัตถุที่บริเวณภายนอกขอบฟ้าเหตุการณ์ไม่ว่าจะเป็นบลูชิฟท์ หรือ เรดชิฟท์ก็ขึ้นอยู่กับวิถีโคจร
 
เมื่อเวลาที่เหมาะสมของวัตถุที่ตกลงไปในขอบฟ้าเหตุการณ์ขึ้นอยู่กับจุดเริ่มต้นจากจุดหยุดนิ่งที่บริเวณขอบฟ้าเหตุการณ์ มีรายงานในปี 2007 ว่าผลของจรวดที่เข้าไปในหลุมดำนั้นพบว่าเป็นเพียงการลดเวลาที่เหมาะสมของคน ๆ หนึ่งที่เริ่มจากจุดหยุดนิ่งที่ขอบฟ้าเหตุการณ์แต่ถ้าเป็นคนอื่นที่จรวดเกิดการระเบิดพอดีก็จะสามารถยืดเวลาของการตกลงไปได้ และเมื่อทำซ้ำเวลาก็จะลดลงอีก <ref>{{
บรรทัด 184:
 
=== การชนเอกภาวะ ===
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เข้าใกล้เอกภาวะมาก ๆ ด้วยแรง [[tidal force]]ไทดอลที่มีค่าอนันต์ ส่วนประกอบทั้งหมดของวัตถุรวมไปถึง[[อะตอม]] และ อนุภาคขนาดเล็กกว่าอะตอม จะถูกฉีกออกจากกันก่อนที่จะถึงเอกภาวะ โดยที่ไม่สามารถทราบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นภายในเอกภาวะ แต่เชื่อว่าจากทฤษฎีควอนตัมโน้มถ่วง ต้องการที่จะอธิบายเหตุการณ์บริเวณใกล้เคียง เมื่อวัตถุข้ามผ่านไปในขอบฟ้าเหตุการณ์ จะหายไปจากเอกภพภายนอก ผู้สังเกตการณ์ระยะไกลจะมองเห็นการเปลี่ยนแปลงของมวล ประจุ และโมเมนตัมเชิงมุมเล็กน้อย ไม่ว่าอะไรก็ตามที่ผ่านจุดนี้ไปจะไม่สามารถเป็นตัวอย่างศึกษาได้อีกต่อไป จากภายนอกเอกภพ พบว่าหินที่ถูกโยนเข้าไปในหลุมหนึ่งล้านปีที่แล้วยังไม่สามารถที่จะผ่านขอบฟ้าไปได้ตามทฤษฏีอาจต้องมีการแก้ไข
 
== การก่อตัวและวิวัฒนาการ ==
บรรทัด 194:
การยุบตัวของสภาพโน้มถ่วงนี้เกิดจากเมื่อวัตถุอยู่ภายใต้ความดันที่สภาพโน้มถ่วงของตัวมันเองไม่สามารถต้านทานได้ ถ้าเป็นดาวก็อาจจะเกิดขึ้นจากการที่ดาวมีการสังเคราะห์นิวคลีโอดาวน้อยเกินไป ที่จะรักษาอุณหภูมิไว้ได้ หรือเนื่องมาจากดาวที่มีความเสถียรเมื่อได้รับมวลมากในทางที่ไม่สามารถเพิ่มอุณหภูมิที่แก่นได้ หรือในอีกกรณีที่อุณหภูมิของดาวไม่เพียงพอที่จะปกป้องดาวจากการยุบตัวภายใต้น้ำหนักของตัวมันเองได้จากกฏ[[แก๊สอุดมคติ]] ซึ่งอธิบายความเชื่อมโยงระหว่างความดัน อุณหภูมิและปริมาตร
 
การยุบตัวอาจจะหยุดได้ด้วยความกดดันที่ลดลง (degeneracy pressure) ของส่วนประกอบของดาว หรือก็คือการที่สสารกลายเป็นของเหลวในสภาวะเสื่อมสลายที่ประหลาด ([[Degenerate matter|denser state]]) ผลลัพธ์ที่ได้จัดเป็นหนึ่งในดาวหลายประเภทของดาวที่มีความหนาแน่นสูง โดยดาวที่หนาแน่นเหล่านี้ประเภทใดที่จะก่อตัวนั้นก็ขึ้นอยู่กับมวลเล็กมวลน้อยมารวมกัน สสารจะที่เหลือก็จะเปลี่ยนกลไกด้วยการยุบตัวไปในชั้นนอก (เช่น การเกิด[[ซูเปอร์โนวา]] หรืออาจจะมีการสั่นสะเทือนจนกลายเป็น[[เนบิวลาดาวเคราะห์]] และต้องเข้าใจว่ามวลที่เหลือออกมานั้นเป็นน้อยกว่าของดาวแม่มาก คือจากดาวที่มีมวล 20 เท่าของมวลดวงอาทิตย์อาจเหลือเพียงแค่ 5 เท่า เท่านั้นหลังจากเกิดการยุบตัว
 
ถ้ามวลของเศษเล็กเศษน้อยที่เหลือ เหลืออยู่เพียง 3-4 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ (จากขอบเขตของโทลแมน-ออพเพนไฮน์เมอร์-โวลคอฟ) ไม่ว่าจะเป็นเพราะดาวดวงเดิมนั้นอาจจะเคยใหญ่มา หรือเป็นเพราะว่าเศษที่เหลือนั้นรวมไปกับมวลอื่น ๆ อาจจะเป็นนิวตรอนที่ลดความดันลงมา ก็อาจะจะไม่เพียงพอที่จะหยุดการยุบตัวนี้ได้ กลไกหลังจากนี้ (ยกเว้นความดันที่ลดลงของ[[ควาร์ก]]) มีพลังมากพอที่จะหยุดการยุบตัวและวัตถุจะสามารถกลายเป็นหลุมดำได้ทั้งสิ้น
บรรทัด 223:
=== วงแหวนก๊าซและลำก๊าซ ===
[[ภาพ:Black hole jet diagram.jpg|left|thumb|การก่อตัวของ ลำก๊าซภายนอกกาแล๊กซี่จาก วงแหวนก๊าซของหลุมดำ]]
แอคเครชั่นดีสค์ [[Accretion disc|accretion disks]] เป็นก๊าซร้อนที่ประกอบด้วยอะตอม และไอออนซ์ของธาตุต่างๆ รวมทั้งอิเลคตรอนอิสระ และอนุภาคพลังงานสูงมากมาย และก๊าซที่พุ่งออกมา ([[gas jet]]) ไม่ได้เป็นตัวพิสูจน์ว่า[[หลุมดำจากดาวฤกษ์]]มีอยู่จริง เพราะวัตถุขนาดใหญ่และมีความหนาแน่นมาก เช่น [[ดาวนิวตรอน]]และ[[ดาวแคระขาว]] ทำให้วงแหวนก๊าซและลำก๊าซก่อตัวและมีประพฤติตัวเหมือน ๆ กัน รอบ ๆ หลุมดำ
 
ในทางกลับกัน วงแหวนก๊าซและลำก๊าซอาจจะเป็นหลักฐานที่ดีสำหรับการปรากฏของ[[หลุมดำมวลยวดยิ่ง]] เพราะเรารู้ว่ามวลมีขนาดใหญ่พอจะทำให้เกิดปรากฏการณ์นี้ได้ก็มีแต่หลุมดำเท่านั้น
บรรทัด 294:
[[ภาพ:Black hole lensing web.gif|170px|left|thumb|การสั่นของ [[Gravitational lensing]] โดยหลุมดำที่ทำให้พื้นหลัง[[กาแล็กซี่]] ผิดรูปร่างไป]]
 
[[เลนส์ความโน้มถ่วง]]([[gravitational lens]]) นี้ก่อตัวมาจากแสงจากแหล่งที่สว่างจากระยะไกลมาก ๆ เช่น [[ควาซาร์]] ที่จะบิวเบี้ยวอยู่รอบ ๆ วัตถุขนาดใหญ่เช่น หลุมดำ ระหว่างแหล่งกำเนิดและผู้สังเกต กระบวนการนี้เป็นที่รู้จักกันในนาม '''การมองผ่านความโน้มถ่วง''' และเป็นการทดสอบอีกอย่างของการคาดการณ์จากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ตามทฤษฎีแล้วมวลจะล้อมรอบ[[กาลอวกาศ]] เพื่อที่จะสร้างสนามความโน้มถ่วง และจะมีผลที่จะเบนแสงไป
 
ภาพจากแหล่งที่อยู่หลังเลนส์จะปรากฏให้ผู้สังเกตเห็นเป็นหลายภาพ ในกรณีที่แหล่งกำเนิด วัตถุที่ทำหน้าที่เป็นเลนส์และผู้สังเกตอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน แหล่งกำเนิดจะปรากฏเป็นวงแหวนหลังวัตถุต้นกำเนิด
บรรทัด 312:
วัตถุที่โคจรรอบหลุมดำนี้ เป็นตัววัดค่าสนามโน้มถ่วงรอบ ๆ ศูนย์กลางวัตถุ ตัวอย่างในอดีตอาทิเช่น การค้นพบในปี 1970 ซึ่งสมมติให้วงแหวนก๊าซนี้จะโคจรอยู่รอบ ๆ หลุมดำ ที่ทำให้ [[Cygnus X-1]] เป็นที่รู้จักจากการเป็นแหล่งกำเนิดรังสีเอ็กซ์ ในขณะที่เราไม่สามารถมองวัตถุได้โดยตรง รังสีเอ็กซ์จะริบหรี่เป็นหน่วย millisecond และเป็นไปตามคาดที่ก้อนก๊าซร้อนโคจรรอบ ๆ หลุมดำที่มีมวล ~10 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ์จะแสดงรูปร่างตามที่คาดสำหรับวงแหวนที่โคจรรอบวัตถุใด ๆ และเส้นของธาตุเหล็กที่แผ่รังสีที่ ~6.4 keV และขยายไปถึงแถบสีแดง (บนด้านที่ต่ำกว่าของวงแหวน) และถึงสีน้ำเงิน (ในส่วนที่เข้าใกล้).
 
อีกตัวอย่างหนึ่งคือ [[S2 (star)|ดาวเอสทู]] ที่มองเห็นโคจรอยู่ที่ใจกลางกาแล็กซี่ เป็นดาวที่มีแสงจากหลุมดำที่มีขนาด~3.5×10<sup>6</sup> เท่าของดวงอาทิตย์ ดังนั้นสามารถที่จะพล็อตการเคลื่อนไหวของวงโคจรได้ แต่ไม่มีการสำรวจอื่น ๆ ที่ใจกลางของวงโคจรนอกจากตำแหน่งของหลุมดำ
 
===การระบุมวลของหลุมดำ===
[[การสั่นกึ่งคาบ]]([[Quasi-periodic oscillations]]) สามารถใช้ระบุมวลของหลุมดำได้<ref>{{cite web|url=http://www.eurekalert.org/pub_releases/2008-04/nsfc-nsi040108.php|title=NASA scientists identify smallest known black hole}}</ref> เทคนิคนี้สามารถใช้ได้กับความสัมพันธ์ระหว่างหลุมดำและภายในวงแหวนรอบ ๆ ตัวมัน ที่มีก๊าซหมุนวนภายในก่อนที่จะถึงขอบฟ้าเหตุการณ์ เมื่อก๊าซยุบตัวลงจะแผ่รังสีเอ็กซ์ด้วยความเข้มที่แตกต่างกันในรูปแบบซ้ำ ๆ ในช่วงเวลาปกติ สัญญาณนี้เรียกว่า ควอไซน์ พิริออดิก ออสซิลเลชั่น หรือ คิวพีโอ ความถี่ คิวพีโอ นี้ขึ้นกับมวลของหลุมดำ ซึ่งจะเกิดที่ขอบฟ้าเหตุการณ์ใกล้ ๆ กับหลุมดำ ดังนั้น คิวพีโอจะมีความถี่มากขึ้น สำหรับหลุมดำที่มีมวลมากกว่านี้ ขอบฟ้าเหตุการณ์ก็จะอยู่ไกลข้น ทำให้ ความถี่คิวพีโอ ลดลง
 
==หลุมดำที่พบ==
===หลุมดำมวลยวดยิ่งพบที่ใจกลางดาราจักร===
[[Image:M87 jet.jpg|left|thumb|284px|พวยก๊าซที่พุ่งออกจากใจกลางเมซิเออร์ 87 ในรูปนี้มาจากนิวเคลียสที่ยังมีพลังของ[[ดาราจักร]]ที่อาจจะมีหลุมดับยักษ์อยู่ Credit: [[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล|กล้องฮับเบิล]]/[[NASAนาซา]]/[[ESAอีซา]].]]
 
จากข้อมูลสมาคมดาราศาสตร์อเมริกา ดาราจักรขนาดใหญ่มักจะมีหลุมดำขนาดใหญ่ที่ใจกลาง โดยที่มวลของหลุมดำจะแปรผันตรงกับดาราจักรที่มันอยู่ มีการใช้กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลสเปซและกล้องโทรทรรศน์ภาพพื้นใน[[ฮาวาย]]ในการสำรวจดาราจักรขนาดใหญ่
บรรทัด 337:
| id=ISBN 0-521-59704-4}}</ref>
 
อย่างไรก็ตาม ในทางทฤษฎีและการสังเกตการณ์แสดงให้เห็นว่าใน[[นิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์]]นั้นน่าจะมีหลุมดำมวลยวดยิ่งอยู่<ref name="krolik1999"/><ref name="sparkegallagher2000"/> รูปแบบของเอจีเอ็นนี้ประกอลไปด้วยใจกลางหลุมดำที่อาจจะมีพลังงานมากกว่าดวงอาทิตย์เป็นพันล้านหรือล้านล้านเท่า วงแหวนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่ภายในดาวเรียกว่า [[จานรวมมวล]] และลำอนุภาคพลังงานสูง ([[relativistic jet|jets]]) ที่ตั้งฉากกับจานรวมมวล<ref name="sparkegallagher2000"/>
 
แม้ว่าหลุมดำมวลยวดยิ่งจะพบในเอจีเอ็นเป็นส่วนใหญ่ จะมีการศึกษาเพื่อที่จะจำแนกและวัดมวลแท้จริงของส่วนกลางของหลุมดำมวลยวดยิ่งแต่ในนิวเคลียสของบางดาราจักรเท่านั้นที่ โดยดาราจักรที่ว่านั้นก็คือ [[ดาราจักรแอนดรอเมดา]] [[เมสสิเยร์ 32]] [[เมสสิเยร์ 87]] [[NGC 3115]] [[NGC 3377]] [[NGC 4258]] และ[[ดาราจักรซอมบรีโร]]<ref name="kormendyrichstone1995">{{cite journal
บรรทัด 349:
| doi=10.1146/annurev.aa.33.090195.003053}}</ref>
 
นักดาราศาสตร์มีความเชื่อมั่นว่า[[กาแล๊กซี่ทางช้างเผือก]]ของเรานั้นก็มีหลุมดำมวลยวดยิ่งอยู่ที่ใจกลางในบริเวณที่เรียกว่า ซาจิเทอเรียสเอ ([[Sagittarius A*]])
* ดาว S2 ที่ตามวงโคจรรูปวงรีด้วยคาบการโคจร 15.2 ปีและจุดใกล้ที่สุดที่มีระยะทางประมาณ 17 ชั่วโมงแสงจากศูนย์กลางวัตถุ
* การประมาณครั้งแรกชี้ว่าที่ศูนย์กลางของวัตถุมีมวล 2.6 เท่าของดวงอาทิตย์และมีรัศมีน้อยกว่า 17 ชั่วโมงแสง ก็มีแต่หลุมดำเท่านั้นที่จะสามารถมีมวลมากขนาดนั้นในปริมาตรน้อย ๆ
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/หลุมดำ"