ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลุมดำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Celiviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Celiviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 204:
การยุบตัวจากแรงโน้มถ่วงไม่ได้เป็นกระบวนการเดียวที่จะสร้างหลุมดำเท่านั้น ในทางทฤษฎี หลุมดำอาจจะเกิดขึ้นจากการชนกันที่มีความหนาแน่นมากพอ ด้วยเหตุผลที่ว่าหลุดดำสามารถที่จะนำเอามวลใด ๆ (หลุมดำจิ๋ว) มาสร้างก็ได้ไม่ว่ามวลนั้นจะมีพลังงานต่ำเพียงใด อย่างไรก็ตาม จนถึงทุกวันนี้ ไม่มีเหตุการณ์ใดที่พิสูจน์ว่าเป็นการทดลองของมวลสมมาตรในตัวสั่นสะเทือนอนุภาค ([[particle accelerator]]) <ref>{{citation|first1=Steven B. |last1-Giddings |first2=Scott |last2=Thomas |title=High Energy Colliders as Black Hole Factories: The End of Short Distance Physics |journal=Phys.Rev. D |volume=65 |year=2002 |number=056010 |url=http://arxiv.org/abs/hep-ph/0106219}}</ref> คำแนะนำนี้อาจจะเป็นขอบเขตสำหรับมวลของหลุมดำได้
 
ในทางทฤษฎีแล้ว ขอบเขตนี้คาดว่าจะอยู่รอบ ๆ มวลแพลง([[Planck mass]]) (~10<sup>19</sup> [[GeV]]/c<sup>2</sup>) เมื่อผลกระทบทางควอนตัมทำให้ความเป็นไปได้ทางทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปหยุดลง{{Fact|date=June 2008}} ซึ่งทำให้การสร้างหลุมดำด้วยกระบวนการที่ใช้พลังงานสูงเกินเื้อื้อมไปหรือไม่สามารถที่จะเกิดใกล้ ๆ โลกได้ การพัฒนาล่าสุดในทางแรงโน้มถ่วงทางควอนตัมพบว่าขอบเขตควรจะน้อยกว่านี้มาก [[braneworld]] ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นทำให้มวลแพลงน้อยลงไปอีกอาจจะเข้าใกล้ 1 TeV ก็เป็นได้<ref>{{citation|first1=Nima |last1=Arkani-Hamed |first2=Savas |last2=Dimopoulos |first3=Gia |last3=Dvali |title=The Hierarchy Problem and New Dimensions at a Millimeter |journal=Phys.Lett. B |volume=429 | year=1998 |pages=263-272 |url=http://arxiv.org/abs/hep-ph/9803315}}</ref> และนี่จะทำให้ความเป็นไปได้ของหลุมดำจิ๋วจะถูกสร้างจากการชนพลังงานสูง เกิดจากรังสีคอสมิกที่ชนกับชั้นบรรยากาศ หรือแม้กระทั่งใน [[Large Hadron Collider]] ที่ [[CERN]] และทฤษฎีเหล่านี้ยังอยู่ในการคาดเดา และการเกิดของหลุมดำจากกระบวนการเหล่านี้ก็ถูกลงความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญทั้งสิ้น
 
===การเติบโต===
เมื่อหลุมดำก่อตัว มันสามารถที่จะเติบโตขึ้นได้จากการดูดซับสสารอื่น ๆ ได้หลุมดำใด ๆ จะดูดซับฝุ่นภายในดาว[[interstellar dust]] จากที่อยู่รอบ ๆ ตัวมัน และที่แทรกอยู่ทั่วไปในพื้นหลังรังสีคอสมิก [[cosmic background radiation]] แต่ไ่ม่มีกระบวนการใดเหล่านี้ควรที่จะมีผลต่อมวลของหลุมดำที่เกิดจากดาวฤกษ์ โดยกระบวนการเหล่านี้จะเกิดขึ้นในระบบดาวคู่ หลังจากการก่อตัวของหลุมดำสามารถที่จะดึงสสารจำนวนหนึ่งมาจากสิ่งที่อยู่รอบ ๆได้
Once a black hole has formed, it can continue to grow by absorbing additional matter. Any black hole will continually absorb [[interstellar dust]] from its direct surroundings and omnipresent [[cosmic background radiation]], but neither of these processes should significantly affect the mass of a stellar black hole. More significant contributions can occur when the black hole formed in a [[binary star]] system. After formation the black hole can then leech significant amounts of matter from its companion.
 
การรวมตัวนี้จะใหญ่ขึ้นเมื่อหลุมดำมารวมกับดาวอื่นหรือวัตถุที่หนาแน่นอื่น ๆ ในหลุมดำยักษ์([[supermassive black hole]])นั้นสันนิษฐานว่าเป็นศูนย์กลางของกาแล็กซี่จำนวนมาก และคาดว่าจะก่อตัวจากการรวมตัวกันของวัตถุขนาดเล็ก กระบวนการนี้สามารถที่จะเป็นจุดกำเนิดของหลุมดำขนาดกลางได้เช่น( [[intermediate-mass black hole]])
Much larger contributions can be obtained when a black hole merges with other stars or compact objects. The [[supermassive black hole]]s suspected in the center of most galaxies are expected to have formed from the coagulation of many smaller objects. The process has also been proposed as the origin of some [[intermediate-mass black hole]]s.
 
===Evaporation===
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/หลุมดำ"