ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวแคระขาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Seiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ดาวแคระขาว''' (White dwarf หรือบางครั้งเรียกว่า Degenerate dwarf) เป็นดาวที่มีขนาดเล็กที่ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วย [[electron-degenerate matter]] เนื่องจากดาวแคระขาวที่มีมวลเท่ากับ[[ดวงอาทิตย์]]จะมีปริมาตรพอ ๆ กับโลกทำให้มันมีความหนาแน่นสูงและมี[[กำลังส่องสว่างน้อย]]มาจากความร้อนที่สะสมไว้ ดาวแคระขาวที่รู้จักในบริเวณใกล้เคียงกับ[[ดวงอาทิตย์]]มีประมาณคร่าว ๆ 6% ของดาวที่รู้จักในบริเวณใกล้เคียงกับ[[ดวงอาทิตย์]] ในปี 1922 [[Henry Norris Russell]], [[Edward Charles Pickering]] และ [[Williamina Fleming]] เป็นบุคคลแรก ๆ ที่ค้นพบดาวแคระขาว
'''ดาวแคระขาว''' เป็น[[ดาวฤกษ์]]ขนาดเล็ก ซึ่งเกือบทั้งหมดประกอบจาก electron-degenerate matter
ดาวแคระขาวมีความหนาแน่นสูงมาก มันมีมวลเทียบได้กับ[[ดวงอาทิตย์]] ในขณะที่มีปริมาตรเทียบได้กับ[[โลก]]
การเปล่งแสงที่อ่อนกำลังของมันเกิดจากการปลดปล่อยพลังงานความร้อนที่เคยสะสมไว้
ดาวแคระขาวคิดเป็นจำนวนประมาณ 6% ของดาวฤกษ์ที่เรารู้จักในละแวก[[ระบบสุริยะ]]
 
ดาวแคระขาวเป็นดาวที่อยู่ในช่วงสุดท้ายของวิวัฒนาการของดาวทุกดวงที่มีมวลไม่มากซึ่งมีปริมาณ 97% ของดาวฤกษ์ที่พบใน[[แกแล็กซี่ทางช้างเผือก|ทางช้างเผือก]] หลังจากที่ดาวฤกษ์ใน[[แถบกระบวนหลัก]]ได้จบช่วงที่มีปฏิกิริยาไฮโดรเจน[[นิวเคลียร์ฟิวชั่น]]ลง มันก็จะขยายเป็น[[ดาวยักษ์แดง]]และหลอม[[ฮีเลียม]]เป็น[[คาร์บอน]]และ[[ออกซิเจน]]ที่ใจกลางโดยกระบวนการ [[triple-alpha process]] ถ้า[[ดาวยักษ์แดง]]มีมวลไม่เพียงพอที่จะทำให้ใจกลางมีอุณหภูมิสูงพอที่จะหลอม[[คาร์บอน]]ได้ มวลเฉื่อยของ[[คาร์บอน]]และ[[ออกซิเจน]]จะก่อตัวที่ศูนย์กลาง หลังจากนั้นชั้นนอกของดาวก็จะถูกพ่นออกไปกลายเป็น[[เนบิวลาดาวเคราะห์]] ก็จะเหลือเพียงใจกลางที่เป็นดาวแคระขาวไว้ ปกติแล้วดาวแคระขาวจะประกอบไปด้วย[[คาร์บอน]]และ[[ออกซิเจน]]และมีความเป็นไปได้ที่ใจกลางมีอุณหภูมิเพียงพอที่จะหลอม[[คาร์บอน]]แต่ไม่ใช่[[นีออน]] นอกจากว่าจะก่อตัวเป็นดาวแคระขาว[[ออกซิเจน]]-[[นีออน]]-[[แมกนีเซียม]] ดาวแคระขาว[[ฮีเลียม]]บางดวงก่อตัวมาจากการสูญเสียมวลในระบบดาวคู่
Willem Luyten เป็นคนเริ่มเรียกชื่อ ดาวแคระขาว (white dwarf) เป็นคนแรกใน ค.ศ. 1922.
 
สสารในดาวแคระขาวจะไม่เกิด[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น]] ดังนั้นดาวแคระขาวจะไม่มีแหล่งพลังงานและไม่มีการต้าน [[gravitational collapse]] จาก[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น]] มีเพียง แรงดัน [[electron degeneracy]] เท่านั้นที่ต้าน [[gravitational collapse]] ทำให้ดาวมีความหนาแน่นสูง จากฟิสิกส์ของ degeneracy สามารถหามวลมากที่สุดของดาวแคระขาวที่ไม่หมุนรอบตัวเองเท่าที่จะมีได้ ค่านี้เรียกว่า[[ลิมิตของจันทรเสกขาร]]ซึ่งมีค่าประมาณ 1.4 เท่าของมวล[[ดวงอาทิตย์]] ถ้ามากไปกว่านั้นจะไม่สามารถพยุงความดัน degeneracy ได้และดาวแคระขาว[[คาร์บอน]]-[[ออกซิเจน]]ก็มีมวลอยู่ในช่วงนี้ ถ้ามวลสารมีการถ่ายเทจากคู่ของมันจะเกิดการระเบิดขึ้นเป็น[[ซูเปอร์โนวาชนิด Ia]] ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า [[carbon detonation]] (ตัวอย่างของ[[ซูเปอร์โนวา]]ชนิดนี้ที่โด่งดังที่สุดคือ SN 1006)
 
หลังจากที่ดาวแคระขาวที่อุณหภูมิสูงเกิดการก่อตัวและขาดแหล่งพลังงานจากปฏิกิริยา[[นิวเคลียร์ฟิวชั่น]]แล้วมันก็จะแผ่รังสีต่อไปและเย็นตัวลง นั่นหมายความว่าการแผ่รังสีของในช่วงแรกจะเป็นแบบอุณหภูมิสูง ช่วงหลังจะแผ่รังสีน้อยลงและมีสีแดงมากขึ้น เมื่อเวลาผ่านไปดาวแคระขาวจะอุณหภูมิต่ำลงจนไม่แผ่รังสีในช่วงคลื่นที่มองเห็นได้ก็จะกลายเป็น[[ดาวแคระดำ]]ที่เยือกเย็น อย่างไรก็ตามเพราะว่าไม่มีดาวแคระขาวใดแก่กว่า[[อายุเอกภพ]]และดาวแคระขาวที่เก่าแก่ที่สุดก็ยังคงแผ่รังสีด้วยอุณหภูมิพันกว่าเคลวิน ดังนั้นจึงไม่มีดาวแคระดำใน[[เอกภพ]]
{{ดาวฤกษ์}}
[[หมวดหมู่:ดาวฤกษ์]]