ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลุมดำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Celiviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Celiviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 164:
 
===ก่อนที่วัตถุที่ตกลงไปจะข้ามขอบฟ้าเหตุการณ์===
วัตถุที่อยู่ในสนามความโน้มถ่วงจะมีเวลาที่ช้าลงเรียกว่าการยืดของช่วงเวลาจากความโน้มถ่วง ([[gravitational time dilation]]) สัมพันธ์กับผู้สังเกตภายนอกสนาม โดยผู้สังเกตจะมองเห็นกระบวนการทางกายภาพรวมไปถึงนาฬิกาที่เดินช้าลงเช่นกัน เมื่อวัตถุที่นำมาทดลองได้ผ่านขอบฟ้าเหตุการณ์ไปนั้น พบว่าเกิด gravitational time dilationการยืดของช่วงเวลาอันมีผลมาจากความโน้มถ่วง (เมื่อวัดโดยผู้สังเกตจากระยะไกลหลุมดำ) จนเข้าใกล้ค่าอินฟินิตี้อนันต์( infinity) หรือก็คือเวลาจะหยุดลง
 
จากมุมมองของผู้สังเกตการณ์ที่อยู่ไกล วัตถุที่ตกลงไปนั้นอาจจะเคลื่อนที่ช้าลง เมื่อเข้าใกล้แต่คล้ายกับว่าจะไม่ไปถึงขอบฟ้าเหตุการณ์ได้ และมีลักษณะที่แดงและมืดทึบลงเนื่องจากเกิดการเลื่อนของสเปกตรัมไปในทิศทางที่มีความยาวคลื่นเพิ่มขึ้น ([[gravitational red shift]]) ที่เกิดขึ้นโดยความโน้มถ่วงจากหลุมดำ ในที่สุดวัตถุนั้นจะค่อนข้างมืดลงไปจนไม่สามารถมองเห็นได้ ที่จุุดก่อนที่จะเข้าใกล้ขอบฟ้าเหตุการณ์ ทั้งหมดนี้เป็นผลมาจากการยืดของช่วงเวลา ซึ่งการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นกระบวนการหนึ่งที่ช้าลงเรื่อยๆ และการยืดของช่วงเวลานี้มีผลกระทบมากกว่าค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงเสียอีก โดยที่[[ความถี่]]ของแสงมีค่าลดลง และทำให้ดูราวกับว่ามีสีแดงมากขึ้น เนื่องจากแสดงเคลื่อนที่ไปครบรอบใช้เวลาน้อยกว่าการเคลื่อนของเข็มนาฬิกาของผู้สังเกตในหนึ่งวินาที ความถี่ที่ต่ำลงมีพลังงานที่ลดลงและมีความทึบและเป็นสีแดงมากขึ้น
From the viewpoint of a distant observer, an object falling into a black hole appears to slow down, approaching but never quite reaching the event horizon: and it appears to become redder and dimmer, because of the extreme [[gravitational red shift]] caused by the gravity of the black hole. Eventually, the falling object becomes so dim that it can no longer be seen, at a point just before it reaches the event horizon. All of this is a consequence of time dilation: the object's movement is one of the processes that appear to run slower and slower, and the time dilation effect is more significant than the acceleration due to gravity; the [[frequency]] of light from the object appears to decrease, making it look redder, because the light appears to complete fewer cycles per "tick" of the ''observer's'' clock; lower-frequency light has less energy and therefore appears dimmer, as well as redder.
 
จากมุมมองการตกของวัตถุ ระยะที่วัตถุปรากฏ [[Blue shift|blue-shifted]] หรือการที่สเปกตรัมเคลื่อนที่เข้าหาผู้สังเกต และมีความยาวคลื่นสั้นลงอันเนื่อเคลื่อนที่เข้าหาผู้สังเกต จะมีความยาวคลื่นสั้นลงมาจากค่าสนามโน้มถ่วงของหลุมดำ ปรากฏการณ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของหรือเป็นส่วนกลับของ [[Redshift|red shift]] ที่เกิดขึ้นโดยความเร็วของการตกของวัตถุเมื่อเทียบกับระยะทาง
From the viewpoint of the falling object, distant objects generally appear [[Blue shift|blue-shifted]] due to the gravitational field of the black hole. This effect may be partly (or even entirely) negated by the [[Redshift|red shift]] caused by the velocity of the infalling object with respect to the object in the distance.
 
===As the object passes through the event horizon===
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/หลุมดำ"