ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จื๋อโนม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:Tu duc thanh che tu hoc giai nghia ca.jpg|thumb|222px|ส่วนหนึ่งจาก ''Tự Đức Thánh Chế Tự Học Giải Nghĩa Ca'' ที่ใช้อักษรจื๋อโนมเขียน]]
'''อักษรจื๋อโนม''' ({{lang-vi|Chữ-nôm, [[wikt:|字]]喃/[[wiktImage:Chu nom character.JPG|16px]] หรือ 喃/[[ภาพImage:Chu nom character variant.JPG|16px]]喃}}) [[เวียดนาม]]ถูก[[จีน]]ปกครองนานนับพันปีระหว่างพ.ศ. 432 – 1481 เป็นผลให้ภาษาเขียนในทางราชการเป็น[[ภาษาจีน]]โบราณที่รู้จักในชื่อจื๋อโญ ( Chữ-nho; 字儒) ใน[[ภาษาเวียดนาม]]ซึ่งยังใช้ต่อมาในเวียดนามคู่กับอักษรจื๋อโนม ( Chữ-nôm ;字喃) และโกว้กว้กหงือ หงือ( Quốc Ngữ,) จนถึงพ.ศ. 2461
 
ในช่วงประมาณ พ.ศ. 1500 ชาวเวียดนามปรับปรุงอักษรจีนใช้เขียนภาษาของตน เรียกว่าอักษรจื๋อโนมหรืออักษรใต้ ตัวอย่างที่เก่าที่สุดของอักษรนี้คือจารึกโลหะที่เจดีย์เบ๋าอัน (Bao An) ในเยนลัง ( Yen Lang) จังหวัดวิญพู (Vinh Phu) อายุราว พ.ศ. 1752 ในช่วง พ.ศ. 1800 อักษรนี้ได้เริ่มมีการนำมาใช้ทางวรรณคดี นักเขียนชาวเวียดนามที่มีชื่อเสียงหลายคนเขียนงานของตนด้วยอักษณจื๋อโนม เช่น กวี เหงียน เทียน (Nguyen Thuyen) และเหงียน สิคอ( Nguyen Si Co; พ.ศ. 1900) เหงียน ตรัย (Nguyen Trai; พ.ศ. 2000) โฮคุยไล (HoQuy Ly; พ.ศ. 1900) ผู้แปลภาษาจีนเป็นภาษาเวียดนามและเขียนประกาศของทางราชการ