ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จุดมืดดวงอาทิตย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jotterbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sk:Slnečná škvrna
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:Sun projection with spotting-scope.jpg|thumb|250px|จุดมืดดวงอาทิตย์เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2547]]
[[ภาพ:Sunspot Numbers.png|thumb|right|350px|แผนภาพจำนวนของจุดมืดในรอบ 400 ปี]]
'''จุดมืดดวงอาทิตย์''' (Sunspot) คือ พื้นที่ส่วนหนึ่งบนผิว[[ดวงอาทิตย์]] ([[โฟโตสเฟียร์]]) ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณโดยรอบ และมีสนามแม่เหล็กที่มีปั่นป่วนสูงมาก ซึ่งได้ทำให้เกิดการขัดขวางกระบวน[[การพาความร้อน]]บนพื้นผิวดวงอาทิตย์ เกิดเป็นพื้นที่ที่มีความเข้มของแสงต่ำกว่าบริเวณโดยรอบ อย่างไรก็ตาม มันยังคงมีอุณหภูมิสูงถึง 4000-4500 [[เคลวิน]] เทียบกับบริเวณปกติโดยรอบที่มีอุณหภูมิประมาณ 5800 [[เคลวิน]] ถ้าเรานำจุดมืดออกมาจากดวงอาทิตย์มันจะสามารถเปล่งแสงสว่างได้มากกว่าแสงจากการเชื่อมเหล็ก เสียอีก จุดมืดยังเป็นสาเหตุของการเกิดปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์อีกมาก เช่น [[บ่วงโคโรนา]](Coronal loop)และ [[การเชื่อมกันของสนามแม่เหล็ก]](Magnetic reconnection) นอกจากนี้การระเบิดใหญ่บนดวงอาทิตย์ (Solar flare) และ [[การพ่นมวลโคโรนา]] (Coronal Mass Ejection) ก็ยังเกิดขึ้นในบริเวณสนามแม่เหล็กรอบๆ จุดมืดอีกด้วย
 
'''จุดมืดดวงอาทิตย์''' (Sunspot) คือ พื้นที่ส่วนหนึ่งบนผิว[[ดวงอาทิตย์]] ([[โฟโตสเฟียร์]]) ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณโดยรอบ และมีสนามแม่เหล็กที่มีปั่นป่วนสูงมาก ซึ่งได้ทำให้เกิดการขัดขวางกระบวน[[การพาความร้อน]]บนพื้นผิวดวงอาทิตย์ เกิดเป็นพื้นที่ที่มีความเข้มของแสงต่ำกว่าบริเวณโดยรอบ อย่างไรก็ตาม มันยังคงมีอุณหภูมิสูงถึง 4000-4500 [[เคลวิน]] เทียบกับบริเวณปกติโดยรอบที่มีอุณหภูมิประมาณ 5800 [[เคลวิน]] ถ้าเรานำจุดมืดออกมาจากดวงอาทิตย์มันจะสามารถเปล่งแสงสว่างได้มากกว่าแสงจากการเชื่อมเหล็ก เสียอีก จุดมืดยังเป็นสาเหตุของการเกิดปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์อีกมาก เช่น [[บ่วงโคโรนา]] (Coronal loop) และ [[การเชื่อมกันของสนามแม่เหล็ก]] (Magnetic reconnection) นอกจากนี้การระเบิดใหญ่บนดวงอาทิตย์ (Solar flare) และ [[การพ่นมวลโคโรนา]] (Coronal Mass Ejection) ก็ยังเกิดขึ้นในบริเวณสนามแม่เหล็กรอบๆ จุดมืดอีกด้วย
 
== การแปรผันของจุดมืด ==
[[ภาพ:Sunspot Numbers.png|thumb|right|350px|แผนภาพจำนวนของจุดมืดในรอบ 400 ปี]]
 
จำนวนของจุดมืดมีการเพิ่มขึ้นและลดลงอย่างเป็นคาบ มีช่วงเวลาหนึ่งรอบประมาณสิบเอ็ดปี นอกจากนี้ยังมีรอบใหญ่ที่มีระยะเวลากว่าอีกด้วย โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2443 ถึงทศวรรษที่ 2503 จะมีจำนวนจุดมืดโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น แต่ตั้งแต่ทศวรรษที่ 2503 เป็นต้นมาจุดมืดกลับมีแนวโน้มลดลง
สิบเอ็ดปี นอกจากนี้ยังมีรอบใหญ่ที่มีระยะเวลากว่าอีกด้วย โดยตั้งแต่ปีพ.ศ. 2443 ถึงทศวรรษที่ 2503 จะมีจำนวนจุดมืดโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น แต่ตั้งแต่
ทศวรรษที่ 2503 เป็นต้นมาจุดมืดกลับมีแนวโน้มลดลง
 
จำนวนของจุดมืดยังมีความสัมพันธ์กับ[[การแผ่รังสรังสี]]ของดวงอาทิตย์ (Solar radiation) อีกด้วย ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2522 เป็นต้นมา ได้มีการส่งดาวเทียมวัดการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์ออกสู่อวกาศ และทำให้เราทราบว่า เมื่อจุดมืดมีจำนวนมากจะทำให้[[การแผ่รังสรังสี]]ของดวงอาทิตย์มีปริมาณลดลง อย่างไรก็ตาม บริเวณโดยรอบจุดมืดกลับมีความสว่างเพิ่มขึ้น ซึ่งหมายความว่า ในภาพรวมการที่ดวงอาทิตย์มีจุดมืดมากขึ้นจะทำให้ดวงอาทิตย์สว่างมากขึ้น แต่ความสว่างที่เพิ่มขึ้นนี้ก็น้อยมาก แค่ประมาณ 0.1% ของความสว่างตามปกติเท่านั้น
 
ในระหว่าง [[ช่วงต่ำสุดมอนเดอร์]] ในศตวรรษที่ 17 เป็นช่วงที่แทบจะไม่พบจุดมืดเลย ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกับช่วงปีที่เรียกกันว่า "ยุคน้ำแข็งเล็กๆ" (Little Ice Age) ซึ่งอุณหภูมิทั่วโลกลดต่ำกว่าปกติ
 
 
== การสังเกตจุดมืด ==
 
การมองตรงไปที่ดวงอาทิตย์ด้วยตาเปล่าเป็นเรื่องอันตรายอย่างมาก และการใช้กล้องสองตา กล้องส่องทางไกล หรือ[[กล้องโทรทรรศน์]]ส่องดูก็ยิ่งเป็นการเพิ่มความร้ายแรงที่จะเกิดขึ้น นั่นคือเรตินาของ[[ดวงตา]]จะถูกทำลายลงอย่างถาวร การใช้แผ่นกระจกรมควันหรือฟิล์มกรองแสงเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำเช่นกัน เพราะถึงแม้ว่าจะสามารถลดทอนแสงจากดวงอาทิตย์ลงจนสามารถเห็นจุดมืดได้ก็จริง แต่วิธีนี้จะไม่ได้ลดทอน[[รังสีอุลตราอัลตราไวโอเล็ต]] ซึ่งการรับรังสีนี้เข้าสูสู่ดวงตาโดยตรงจะมีผลทำให้เป็นต้อกระจกได้ วิธีที่ปลอดภัยที่สุดในการสังเกตจุดมืดก็คือการฉายภาพของดวงอาทิตย์ผ่านกล้องโทรทรรศน์ลงบนฉากรับภาพสีขาว ซึ่งต้องกระทำโดยผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
 
[[หมวดหมู่:ดาราศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ปรากฏการณ์ของดาวฤกษ์]]
{{โครงดาราศาสตร์}}