ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
V i P (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
V i P (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475๒๔๗๕''' เป็น[[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับชั่วคราว ซึ่งถือว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกแห่งราชอาณาจักรสยาม ประกาศใช้เมื่อวันที่ [[27 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] โดยเป็นผลพวงหลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การปฏิวัติ]]เมื่อวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] โดย[[คณะราษฎร]] ซึ่งได้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]] มาเป็น[[ระบอบประชาธิปไตย]] อันมี[[พระมหากษัตริย์]]ทรงเป็นประมุข ซึ่งในขณะที่เกิดการปฏิวัตินั้น [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงประทับ ณ [[พระตำหนักวังไกลกังวล]] [[อำเภอหัวหิน]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]]
{{รอการตรวจสอบ}}
'''พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475''' เป็น[[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับชั่วคราว ซึ่งถือว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกแห่งราชอาณาจักรสยาม ประกาศใช้เมื่อวันที่ [[27 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] โดยเป็นผลพวงหลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การปฏิวัติ]]เมื่อวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] โดย[[คณะราษฎร]] ซึ่งได้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]] มาเป็น[[ระบอบประชาธิปไตย]] อันมี[[พระมหากษัตริย์]]ทรงเป็นประมุข
 
พระราชบัญญัติธรรมนูญฉบับนี้เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกในประวัติศาสตร์ไทย ร่างขึ้นโดยแกนนำสำคัญภายในคณะราษฎร โดยในวันที่ [[26 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จฯ กลับ[[พระนคร]] และในวันเดียวกันนั้นก็โปรดเกล้าฯ ให้คณะราษฎรเข้าเฝ้าฯ และทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกำหนดนิรโทษกรรมให้แก่บรรดาสมาชิกคณะราษฎร นอกจากนี้คณะราษฎรยังถวายร่างพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามด้วย แต่พระองค์ทรงขอตรวจร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวก่อน ซึ่งพระองค์ก็ทรงลงพระปรมาภิไธยในวันรุ่งขึ้น โดยทรงพระอักษรกำกับต่อท้ายชื่อพระราชบัญญัตินั้นว่า "ชั่วคราว" สืบเนื่องมาจากพระองค์ทรงเห็นว่าหลักการประชาธิปไตยของผู้ก่อการฯ ไม่พ้องกันกับพระประสงค์ของพระองค์ แต่พระองค์ก็ทรงลงพระปรมาภิไธยเพราะเหตุการณ์ฉุกเฉินในขณะนั้น
ซึ่งในขณะที่เกิดการปฏิวัตินั้น [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงประทับ ณ [[พระตำหนักวังไกลกังวล]] อำเภอ[[หัวหิน]] จ.[[ประจวบคีรีขันธ์]]
 
พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว [[พ.ศ. 2475|พุทธศักราช 2475]] ฉบับนี้ เป็นที่น่าสังเกตว่า ไม่มีผู้รับสนอง[[พระบรมราชโองการ]]ในการประกาศใช้ ถ้าอ้างในหลักทาง[[นิติศาสตร์]]แล้ว อาจกล่าวได้ว่า [[พระมหากษัตริย์]]ทรงยินยอมและตกลงใจในการให้[[รัฐธรรมนูญ]]แก่ประชาราษฎรอย่างแท้จริง
 
== สาระสำคัญ ==
เส้น 12 ⟶ 9:
''([[ประธานคณะกรรมการราษฎร]] เทียบเท่าตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]]ในปัจจุบัน)''
 
== สาเหตุการสิ้นสุดการใช้[[รัฐธรรมนูญ]] ==
 
สาเหตุการสิ้นสุดการใช้[[รัฐธรรมนูญ]]อันเนื่องมาจากมีการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475]] ซึ่งเป็น[[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับถาวรแทน เมื่อวันที่ [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2475]]
 
{{วิกิซอร์ซ|พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕}}
{{รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย}}
 
{{วิกิซอร์ซ|พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕}}
 
[[หมวดหมู่:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]