ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดเปอร์ซีนิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พ.น.บุญรอด (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
พ.น.บุญรอด (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''กรดเปอร์ซีนิก''' (H<sub>4</sub>XeO<sub>6</sub>) เป็นกรดสมมติที่ใช้อธิบายสารละลายในน้ำของ[[ซีนอนเททรอกไซด์]] (เหมือนกับ[[โครเมียมไตรออกไซด์]]ที่เชื่อกันว่าเมื่อละลายในน้ำจะได้[[กรดโครมิก]] และเกิดสารประกอบของ[[โครเมตไอออน]]และ[[ไดโครเมตไอออน]]) ซึ่งในสารประกอบนี้ ซีนอนมี[[เลขออกซิเดชัน]]เท่ากับ +8 จึงเป็นผลทำให้กรดชนิดนี้เป็น[[ตัวออกซิไดส์]]ที่รุนแรงรวมทั้งยังมีความเป็น[[กรด]]สูง เนื่องจากอะตอมของ[[ซีนอน]]จะดึงดูด[[อิเล็กตรอน]]เอาไว้ได้แรงมาก ทำให้[[พันธะเคมี|พันธะ]]ระหว่าง [[ออกซิเจน|O]]-[[ไฮโดรเจน|H]] อ่อน โปรตอนจึงสามารถแตกตัวได้ง่าย แต่ยังมีความเป็นกรดต่ำกว่า[[กรดเปอร์คลอริก]] เป็นกรดที่มีสี่โปรตอน ([[:en:tetraprotic acid]]) ซึ่งสามารถแตกตัวให้โปรตอนได้ 4 ตัวต่อ 1 [[โมเลกุล]] และยังสามารถเกิดเป็นเกลือของ[[แอนไอออน]]ที่มีคุณสมบัติเป็น[[แอมโฟเทอริก]]ได้อีกด้วย
กรดชนิดนี้เป็น[[ตัวออกซิไดส์]]ที่รุนแรงและมีความเป็น[[กรด]]สูง แต่ยังมีความเป็นกรดต่ำกว่า[[กรดเปอร์คลอริก]] เป็นกรดที่มีสี่โปรตอน ([[:en:tetraprotic acid]]) ซึ่งสามารถแตกตัวได้สี่ครั้ง
 
ตัวอย่างเช่น[[เงิน (ธาตุ)|ซิลเวอร์]][[เปอร์ซีเนต]] จะเกิดสารประกอบดังนี้
เส้น 11 ⟶ 10:
กรดชนิดนี้ไม่ได้คล้ายกับกรดชนิดอื่นๆ ใดเลย แต่[[ซีนอนเททรอกไซด์]]ก็อาจเทียบได้กับ[[ออสเมียมเททรอกไซด์]] ([[กรดออสมิก]])
[[หมวดหมู่:สารประกอบของซีนอน]]
{{โครงเคมี}}
 
[[ca:àcid perxènic]]