ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คุยกับผู้ใช้:พ.น.บุญรอด/ทดสอบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พ.น.บุญรอด (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
พ.น.บุญรอด (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 11:
# ในกรณีที่ทราบความยาวด้านคู่ขนาน (a และ b) และความสูงของรูป (h) สามารถใช้สูตรดังต่อไปนี้เพื่อหาพื้นที่ (A)
 
:<math>\frac{h{(a+b)}}{2}</math>
 
# ในกรณีที่ทราบความยาวของด้านทั้งหมด สามารถใช้สูตรดังต่อไปนี้
 
:<math>A=\frac{a+c}{4(a-c)}\sqrt{(a+b-c+d)(a-b-c+d)(a+b-c-d)(-a+b+c+d)}.</math>
 
โดยที่ a และ c เป็นความยาวของด้านคู่ขนาน ซึ่งในกรณีที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน (หรือขนมเปียกปูน) ซึ่งมีด้านคู่ขนานยาวเท่ากัน จะไม่สามารถหาค่าได้ เนื่องจาก a=c ทำให้เกิดการหารด้วยศูนย์เกิดขึ้น ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว สี่เหลี่ยมด้านขนาน (หรือขนมเปียกปูน) ที่กำหนดความยาวของแต่ละด้านมาให้นั้นสามารถสร้างได้หลายรูป เนื่องจากรูปสี่เหลี่ยมประเภทนี้เกิดการโย้ได้ เพราะว่ามีด้านขนานกัน 2 คู่ จึงไม่สามารถหาพื้นที่จากความยาวด้านได้ แต่รูปสี่เหลี่ยมคางหมูที่กำหนดความยาวด้านมาให้นั้นจะมีได้เพียงรูปเดียว (โดยพิจารณาถึงการเรียงลำดับของความยาวด้าน เช่น รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD มีด้าน AB, BC, CD และ DA ยาวเท่ากับ a, b, c และ d ตามลำดับจะไม่เหมือนกันกับรูปสี่เหลี่ยมที่มีด้าน AB, BC, CD และ DA ยาวเท่ากับ a, c, b และ d ตามลำดับ) เนื่องจากว่ารูปนี้ไม่สามารถโย้ได้ เนื่องจากมีด้านขนานกันคู่เดียวเท่านั้น
 
== การใช้รูปสี่เหลี่ยมคางหมูในสถาปัตยกรรม ==
พบในสถาปัตยกรรมแบบ[[อียิปต์โบราณ]] โดยมีการเจาะช่องหน้าต่าง, ประตู และการก่อสร้างตัวอาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมูโดยมีด้านฐานยาวกว่าด้านยอด [[Image:Temple of Dendur- night.jpg|right|250px|thumb|วิหาร Dendur ซึ่งจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ศิลปะนิวยอร์ก]]
กลับไปที่หน้าผู้ใช้ของ "พ.น.บุญรอด/ทดสอบ"