ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรเจิด สิงคะเนติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vetbook (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Vetbook (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''รองศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ''' อาจารย์ประจำภาควิชากฎหมายมหาชน [[คณะนิติศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] อดีตผู้อำนวยการศูนย์นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน [[คตส.]] ตามประกาศ[[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] ฉบับที่ 30 เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2549 และเป็นที่ปรึกษากฎหมายของ คปค.
 
== คุณวุฒิ ==
รศ.ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ จบปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงในปี พ.ศ. 2527,เนติบัณฑิตไทย,ปริญญาโทด้านกฎหมายมหาชน จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลังจากนั้นได้ทุนของรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ไปศึกษาปริญญาโท (Magister Lugum) และสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2538 จากมหาวิทยาลัย Bochum และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก (Doktor der Rechte-Dr.jur) ในปี พ.ศ. 2541 จากมหาวิทยาลัยเดียวกัน
 
== ผลงานทางวิชาการ ==
=== บทความวิชาการ ===
1. "วิเคราะห์ปัญหาการแต่งตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญของไทยโดยอาศัยพื้นฐานทางทฤษฎีของเยอรมัน" ,วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 3 กันยายน 2541 , หน้า 479-492
2. "วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทยเปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน" ,วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (พ.ค.- ส.ค. 2541) หน้า 76-99
3. "วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทยเปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน" ,ศาลรัฐธรรมนูญไทย อดีต ปัจจุบัน อนาคต , สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ 2543 ,หน้า 33-65
4. "วิเคราะห์ปัญหาเรื่องขอบเขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ" , วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 1 (เมษายน 2541) หน้า 157-166
5."หลักประกันสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่" ,วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 2 (สิงหาคม 2542) หน้า 30-65
6. บรรเจิด สิงคะเนติ ,และ สมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์ , "หลักความได้สัดส่วนตามหลักกฎหมายของเยอรมันและฝรั่งเศส" ,วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2542) หน้า 40-70
7. "เงื่อนไขการพิจารณาคดีปกครองเยอรมัน" ,วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2542) หน้า 277-299
8. บรรเจิด สิงคะเนติ ,และ สมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์ , "ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540" ,วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 19 ตอน 1 (เมษายน 2543) หน้า 1-10
9. "ข้อพิจารณาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องของหน่วยงานของรัฐในการฟ้องโต้แย้งคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร" วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 19 ตอน 1 (เมษายน 2543) หน้า 11-19
10."กระบวนการรับฟ้องความคิดเห็นสาธารณะหรือกระบวนการกำหนดแผนงาน(das Plafeststellungsverfahren) ตามกฎหมายเยอรมัน" , รพี 43 ,คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ,หน้า 86-96
11. "หลักการพื้นฐานของสิทธิและเสรีภาพ" ,นิติสยามปริทัศน์'43 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ,หน้า 60-82
12. สมคิด เลิศไพฑูรย์ ,บรรเจิด สิงคะเนติ ,เขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญไทยตามมาตรา 264 และมาตรา 266 ,ศาลรัฐธรรมนูญไทย อดีต ปัจจุบัน อนาคต , สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ 2543
13. "ข้อพิจารณาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างศาลปกครองกับองค์กรตาม รัฐธรรมนูญ" www.pub-law.net วันที่ 16 เมษายน 2544 14. "บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ : ศึกษากรณีปัญหาความขัดแย้งเรื่อง เขตอำนาจศาลระหว่างศาลรัฐธรรมนูญกับศาลปกครอง" www.pub-law.net วันที่ 28 พฤษภาคม 2544 และ วันที่ 11 มิถุนายน 2544
15. "คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ของเยอรมัน : ศึกษากรณีการควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย" วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 7 (มกราคม-เมษายน 2544)
16. ปัญหาเรื่องการพิจารณาอุทธรณ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น www.pub-law.net , 1 มีนาคม 2545
17. บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ : ศึกษากรณีปัญหาความขัดแย้งเรื่องเขตอำนาจศาลระหว่างศาลรัฐธรรมนูญกับศาลปกครอง รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ , 2545
18. การควบคุมและตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ , 2545
19. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างศาลปกครองกับองค์กรตามรัฐธรรรมนูญ - www.pub-law.net , 16 เมษายน 2544
20. วิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลปกครองกรณียกฟ้อง 3 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (253/2545) - www.pub-law.net , 6 พฤษภาคม 2545
21.เขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา 264 และมาตรา 266 (แต่งร่วมกับ รศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ) - รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1 : ศาลรัฐธรรมนูญไทย
22. สิทธิขั้นพื้นฐานทางสังคม วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 9 (กันยายน-ธันวาคม ,2544)
23. ปัญหาขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ - วารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (ก.ย. – ธ.ค. ) ,2544.
24. หลักการแสวงหาความจริงโดยศาล (Untersuchungsgrundsatz)ของรัฐธรรมนูญเยอรมัน วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน) 2545.
25. การฟ้องโต้แย้งคำสั่งทางปกครองตามกฎหมายเยอรมัน - อาจาริยบูชา รวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์ , สมาคมกฎหมายมหาชนแห่งประเทศไทย , 2545.
26. วิเคราะห์ คำวินิจฉัยของศาลปกครอง เรื่อง ขอให้เพิกถอนมติที่ประชุมคณะกรรมการองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย เกี่ยวกับการตัดสายเชื่อมโยงข่ายโทรคมนาคม (คำสั่งที่ 645/2545) - www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 15 กรกฎาคม 2545.
27. ข้อ สังเกตจากคำชี้แจงของศาลปกครองสูงสุดและแนวคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ : กรณีที่มีปัญหาอำนาจหน้าที่ระหว่างคณะกรรมการการเลือกตั้งกับศาลปกครอง - www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 21 ตุลาคม 2545.
28. กระบวนการพิจารณาโครงการ (Planfestellungsnerfahren) ตามกฎหมายของเยอรมัน. วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 20 ตอน 1, 2544.
29.ข้อพิจารณาเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. www.pub-law.net. เผยแพร่วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2546 และ 17 กุมภาพันธ์ 2546.
30. ทำไมพระราชกำหนดในการแปรสัญญาโทรคมนาคมจึงไม่เป็นไปตามมาตรา 218 วรรคหนึ่งของรัฐธรรมนูญ,www.pub-law.net , 31 มีนาคม 2546.
31. หลักการแสวงหาความจริงโดยศาลในคดีปกครองของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี , วารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2545.
 
=== หนังสือ ===
. หลักพื้นฐานสิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญใหม่ , กรุงเทพ ฯ: วิญญูชน 2543 สารบัญ
2. ดร.ชาญชัย แสวงศักดิ์ ,ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ , นายสมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์, "การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของทางราชการกับข้อพิจารณาทางกฎหมายปกครอง" , กรุงเทพฯ : นิติธรรม 2543
3. หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ,โครงการเฉลิมพระเกียรติสารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 , กรุงเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา ,2543สารบัญ
4. หลักความเสมอภาค ,โครงการเฉลิมพระเกียรติสารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540, กรุงเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา ,2543สารบัญ
5. ศาลรัฐธรรมนูญ ,โครงการเฉลิมพระเกียรติสารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540, กรุงเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา ,2543สารบัญ
6. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน ,2544
7. หลักความเสมอภาค สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540) : สถาบันพระปกเกล้า , 2544
8. หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540) : สถาบันพระปกเกล้า , 2544
9. หลักพื้นฐานสิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญใหม่ - กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน ,2543. 10. เอกสารประกอบการพิจารณากฎหมายของสมาชิกรัฐสภา เล่มที่ 5 เรื่องพระราช บัญญัติประชาพิจารณ์ : กรณีศึกษากระบวนการพิจารณาโครงการ (Planfestellungsnerfahren) ตามกฎหมายของประเทศเยอรมันนี. สถาบันพระปกเกล้า , 2545.
11. เอกสารประกอบการพิจารณากฎหมายของสมาชิกรัฐสภา เล่มที่ 6 เรื่องพระราช บัญญัติประชาพิจารณ์ : ศึกษากรณีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (Enquête publique)ตามกฎหมายของประเทศฝรั่งเศส. สถาบันพระปกเกล้า , 2545. (แต่งร่วมกับ สมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์)
 
[[หมวดหมู่:คตส.]]