ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การแรงงานระหว่างประเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เก็บกวาด
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
'''องค์การแรงงานระหว่างประเทศ''' หรือ '''ไอแอลโอ''' ([[ภาษาอังกฤษ]]:International Labour Organization-ILO)องค์การไอแอลโอ ตั้งขึ้นตั้งแต่ยังไม่มี[[องค์การสหประชาชาติ]] คือ เมื่อ [[พ.ศ. ๒๔๖๒2462]] ([[ค.ศ. ๑๙๑๙1919]]) เป็นองค์การชำนัญชำนาญเฉพาะเรื่อง องค์การแรกที่เข้าอยู่ในเครือสหประชาชาติ คือ เมื่อ [[พ.ศ. ๒๔๘๙2489]] ([[ค.ศ. ๑๙๔๖1946]]) องค์การนี้มีอายุได้ ๗๗77 ปี ใน [[พ.ศ. ๒๕๓๙2539]] ในบรรดารัฐสมาชิกสหประชาชาติที่นับว่าเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้ง มี[[ประเทศไทย]]รวมอยู่ด้วย ประเทศอื่นในภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก ได้แก่ [[จีน]] [[อินเดีย]] [[ญี่ปุ่น]] และ[[นิวซีแลนด์]]
'''องค์การแรงงานระหว่างประเทศ-ไอแอลโอ (International Labour Organization-ILO)'''
 
องค์การไอแอลโอ ตั้งขึ้นตั้งแต่ยังไม่มีองค์การสหประชาชาติ คือ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๒ (ค.ศ. ๑๙๑๙) เป็นองค์การชำนัญเฉพาะเรื่อง องค์การแรกที่เข้าอยู่ในเครือสหประชาชาติ คือ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๙ (ค.ศ. ๑๙๔๖) องค์การนี้มีอายุได้ ๗๗ ปี ใน พ.ศ. ๒๕๓๙ ในบรรดารัฐสมาชิกสหประชาชาติที่นับว่าเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้ง มีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย ประเทศอื่นในภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก ได้แก่ จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และนิวซีแลนด์
== ภารกิจหลัก ==
ภารกิจหลักของ ไอแอลโอ คือช่วยเหลือผู้ใช้แรงงานทั่วโลกให้ได้รับความยุติธรรมจากสังคม ให้มีชีวิต และสภาพการทำงานที่ดีขึ้น ผลงานขององค์การทำให้ได้รับรางวัลโนเบล เพื่อสันติภาพ เมื่อ [[พ.ศ. ๒๕๑๒2512]] ([[ค.ศ. ๑๙๖๙1969]]) ทั้งนี้โดยที่องค์การยึดมั่นในหลักการที่ว่า สันติสุขแห่งโลกจะเกิดขึ้นได้และมีความต่อเนื่องมั่นคงก็ด้วยการที่มีความยุติธรรมในสังคม มีฐานรากคือ ความเคารพในสิทธิมนุษยชน มีมาตรฐานความเป็นอยู่ที่ดี มีสภาพการทำงานซึ่งเกื้อกูลความผาสุกของผู้ใช้แรงงาน การมีโอกาสทำงานและมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์การปฏิบัติงานของไอแอลโอ คือ จัดให้มีการเจรจาร่วมของผู้เกี่ยวข้องสามฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายนายจ้าง และฝ่ายแรงงาน ในกรณีที่มีความขัดแย้งและพยายามแก้ไขปัญหาร่วมกันโดยมีมติเป็นเอกฉันท์ ภารกิจขององค์การนี้ในภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิกมีความหลากหลายและยุ่งยาก เพราะประเทศต่างๆ มีสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกัน ทั้งในด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม โครงสร้าง รายได้และสวัสดิการสังคม การพาณิชย์ การลงทุน แรงงาน ปัญหาด้านสังคมและแรงงาน ความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้านเศรษฐกิจและสังคม ในประเทศที่เริ่มเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม ก็ได้นำมาซึ่งปัญหาใหม่ๆ อีกมากมาย
 
ไอแอลโอ จัดลำดับเรื่องสำคัญรีบด่วนไว้สามประการ คือ
== ยุทธศาสตร์การปฏิบัติงานของไอแอลโอ ==
๑) การจัดให้มีงานทำและขจัดความยากจน
ยุทธศาสตร์การปฏิบัติงานของไอแอลโอ คือ จัดให้มีการเจรจาร่วมของผู้เกี่ยวข้องสามฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายนายจ้าง และฝ่ายแรงงาน ในกรณีที่มีความขัดแย้งและพยายามแก้ไขปัญหาร่วมกันโดยมีมติเป็นเอกฉันท์ ภารกิจขององค์การนี้ในภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิกมีความหลากหลายและยุ่งยาก เพราะประเทศต่างๆ มีสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกัน ทั้งในด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม โครงสร้าง รายได้และสวัสดิการสังคม การพาณิชย์ การลงทุน แรงงาน ปัญหาด้านสังคมและแรงงาน ความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้านเศรษฐกิจและสังคม ในประเทศที่เริ่มเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม ก็ได้นำมาซึ่งปัญหาใหม่ๆ อีกมากมาย
๒) การคุ้มครองผู้ใช้แรงงาน
 
๓) ส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิแห่งมนุษยชน
ไอแอลโอ จัดลำดับเรื่องสำคัญรีบด่วนไว้สามประการ คือ
ในข้อแรกไอแอลโอ ช่วยเหลือประเทศต่างๆ ในการฝึกอบรมผู้ใช้แรงงานให้มีประสิทธิภาพ ในข้อที่สอง ไอแอลโอ ช่วยประเทศต่างๆ ให้เพิ่มพูนประสิทธิภาพในการคุ้มครองผู้ใช้แรงงานให้ได้รับความปลอดภัย และให้ตระหนักถึงภัยที่เกิดจากการทำงานในโรงงาน ในข้อที่สามไอแอลโอช่วยเหลือในการออกกฎหมายเกี่ยวกับแรงงาน และอุตสาหกรรมสัมพันธ์ระหว่างแรงงานกับนายจ้าง สนับสนุนองค์การของผู้ใช้แรงงาน ได้กำหนดมาตรฐานสากลเกี่ยวกับแรงงาน ซึ่งช่วยในการสร้างเสริมประชาธิปไตยและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
๑) *การจัดให้มีงานทำและขจัดความยากจน
องค์การไอแอลโอ มีสำนักงานภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศหลายแห่งในภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก ให้ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการ จัดการฝึกอบรม ทำการศึกษาวิจัย เพื่อส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างรัฐบาล แรงงานและนายจ้าง ในระดับประเทศ สำนักงานภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ตู้ไปรษณีย์ ๑๗๕๙ กรุงเทพมหานคร ๑๐๕๐๑โทรศัพท์ (๖๖๒) ๒๘๒-๙๑๖๔, ๒๘๘-๑๗๑๐,๒๘๘-๑๗๕๕ โทรสาร (๖๖๒) ๒๘๑-๑๔๙๖
๒) *การคุ้มครองผู้ใช้แรงงาน
๓) *ส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิแห่งมนุษยชน
ในข้อแรกไอแอลโอ ช่วยเหลือประเทศต่างๆ ในการฝึกอบรมผู้ใช้แรงงานให้มีประสิทธิภาพ ในข้อที่สอง ไอแอลโอ ช่วยประเทศต่างๆ ให้เพิ่มพูนประสิทธิภาพในการคุ้มครองผู้ใช้แรงงานให้ได้รับความปลอดภัย และให้ตระหนักถึงภัยที่เกิดจากการทำงานในโรงงาน ในข้อที่สามไอแอลโอช่วยเหลือในการออกกฎหมายเกี่ยวกับแรงงาน และอุตสาหกรรมสัมพันธ์ระหว่างแรงงานกับนายจ้าง สนับสนุนองค์การของผู้ใช้แรงงาน ได้กำหนดมาตรฐานสากลเกี่ยวกับแรงงาน ซึ่งช่วยในการสร้างเสริมประชาธิปไตยและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
 
 
== สำนักงานประจำภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก ==
องค์การไอแอลโอ มีสำนักงานภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศหลายแห่งในภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก ให้ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการ จัดการฝึกอบรม ทำการศึกษาวิจัย เพื่อส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างรัฐบาล แรงงานและนายจ้าง ในระดับประเทศ สำนักงานภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ตู้ไปรษณีย์ ๑๗๕๙1759 [[กรุงเทพมหานคร]] 10501 ๑๐๕๐๑โทรศัพท์ (๖๖๒662) ๒๘๒282-๙๑๖๔9164, ๒๘๘288-๑๗๑๐1710,๒๘๘ 288-๑๗๕๕1755 โทรสาร (๖๖๒662) ๒๘๑281-๑๔๙๖1496
 
[[ar:منظمة العمل الدولية]]
[[ast:Organización Internacional del Trabayu]]
[[az:Beynəlxalq Əmək Təşkilatı]]
[[be-x-old:Міжнародная арганізацыя працы]]
[[bg:Международна организация на труда]]
[[ca:Organització Internacional del Treball]]
[[cs:Mezinárodní organizace práce]]
[[da:International Labour Organization]]
[[de:Internationale Arbeitsorganisation]]
[[es:Organización Internacional del Trabajo]]
[[eo:Internacia Organizo de Laboro]]
[[en:International Labour Organization]]
[[fa:سازمان بین‌المللی کار]]
[[fr:Organisation internationale du travail]]
[[gl:Organización Internacional do Traballo]]
[[hr:Međunarodna organizacija rada]]
[[id:Organisasi Buruh Internasional]]
[[it:Organizzazione Internazionale del Lavoro]]
[[he:ארגון העבודה הבינלאומי]]
[[jv:ILO]]
[[ku:ILO]]
[[hu:Nemzetközi Munkaügyi Szervezet]]
[[mk:Меѓународна организација на трудот]]
[[ms:Pertubuhan Buruh Antarabangsa]]
[[my:ILO]]
[[nl:Internationale Arbeidsorganisatie]]
[[ja:国際労働機関]]
[[no:Den internasjonale arbeidsorganisasjonen]]
[[pl:Międzynarodowa Organizacja Pracy]]
[[pt:Organização Internacional do Trabalho]]
[[ru:Международная организация труда]]
[[sk:Medzinárodná organizácia práce]]
[[sl:Mednarodna organizacija dela]]
[[fi:Kansainvälinen työjärjestö]]
[[sv:International Labour Organization]]
[[vi:Tổ chức Lao động Quốc tế]]
[[tr:Uluslararası Çalışma Örgütü]]
[[uk:Міжнародна організація праці]]
[[zh:國際勞工組織]]