ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟ้าเดียวกัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนกลับเป็นรุ่น 08:46, 19 มิถุนายน 2551 เนื่องจากไม่เป็นกลาง และขาดข้อมูลอ้างอิง
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เก็บกวาด}}
'''''ฟ้าเดียวกัน''''' เป็น[[วารสาร]]ราย 3 เดือน มีเนื้อหาที่เปิดกว้างนำเสนอ[[การเคลื่อนไหวทางความคิดรูปแบบใหม่ โดยเสนอในมุมมองที่แตกต่างไปจากเรื่องราวสังคมในปัจจุบัน]] จนทำให้ถูกกลุ่มคนโจมตีว่าเป็นวารสารในรูปแบบของขบวนการ [[หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ]] ประชาชนและทางความคิด ฉบับแรกวางแผงเมื่อต้นปี [[พ.ศ. 2546|2546]] พิมพ์โดยสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน โดยมี [[ธนาพล อิ๋วสกุล]] เป็นผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
{{แม่แบบ:ตรวจความเป็นกลาง}}
 
ในบทสัมภาษณ์ ลงนิตยสาร''[[ศิลปวัฒนธรรม (นิตยสาร)|ศิลปวัฒนธรรม]]''<ref>คอลัมน์สโมสรศิลปวัฒนธรรม. ''ศิลปวัฒนธรรม.'' 1 พ.ย. 2546 ปีที่ 25 ฉบับที่ 01. (อ้างตาม ความเห็นในกระดานข่าวมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน[http://www.thaimisc.com/freewebboard/php/vreply.php?user=midnightuniv&topic=11943])</ref> ธนาพล อิ๋วสกุลกล่าวว่า "สังคมไทยในปัจจุบันเติบโตเปิดกว้างจนมาถึงจุดที่ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของประชาชนซึ่งพยายามจะเสนอ 'ทางเลือก/ทางออก' ให้สังคม และความคิดความเห็นที่แตกต่างสวนทางกับความคิดความเชื่อกระแสหลัก ก็พอจะมีที่มีทางอยู่บ้างในพื้นที่สาธารณะ...แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า การเคลื่อนไหวต่อต้านท้าทายสภาวะสังคมจะสามารถลงรากปักฐานได้อย่าง มั่นคง ซ้ำยังมีแนวโน้มที่จะถูกตอบโต้ทำลาย หรือไม่ก็ถูกผนวกกลืนเข้าไปเป็นลูกไล่อยู่ในโครงสร้างเดิม..."
'''''ฟ้าเดียวกัน''''' เป็น[[วารสาร]]ราย 3 เดือน มีเนื้อหาที่เปิดกว้างทางความคิดรูปแบบใหม่ โดยเสนอในมุมมองที่แตกต่างไปจากเรื่องราวสังคมในปัจจุบัน จนทำให้ถูกกลุ่มคนโจมตีว่าเป็นวารสารในรูปแบบของขบวนการ [[หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ]] ฉบับแรกวางแผงเมื่อต้นปี [[พ.ศ. 2546|2546]] พิมพ์โดยสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน โดยมี [[ธนาพล อิ๋วสกุล]] เป็นผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
 
เว็บไซต์ฟ้าเดียวกันเคยเข้าถึงไม่ได้เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2551 โดยเจ้าของระบุว่าเป็นเพราะเอกชนผู้ให้บริการพื้นที่บนอินเทอร์เน็ต ยกเลิกการให้บริการหลังจากผู้ให้บริการรับฝากเครื่องเซิร์ฟเวอร์ปิดเครื่องเซิร์ฟเวอร์เพราะ[[กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]]สั่งการ ด้วยเหตุที่มีเนื้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ต่อมากระทรวงฯ ปฏิเสธว่าไม่ได้มีการปิดกั้นแต่อย่างใด แต่ได้ให้เจ้าหน้าที่หาข้อมูลความเป็นมาและจับตาการให้บริการ เพราะเนื้อหาค่อนข้างรุนแรงและไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในขณะนั้น ที่อยู่ระหว่างไว้อาลัยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์<ref>ไทยรัฐ, [http://www.thairath.co.th/news.php?section=technology03b&content=74548 'ไอซีที' ปัดสั่งบล็อกเว็บ 'ฟ้าเดียวกัน' เจ้าของยังลังเลเอาผิด], 9 มกราคม 2551</ref>
รูปแบบนิตยสารและเว็บไซต์ในปัจจุบัน ยังมีความเคลือบแคลงน่าสงสัย เช่นการเผยแพร่บทความรู้ทันราชวงศ์จักรี และบทความบิดเบือน โดยมีความพยายามที่จะทำลายราชวงศ์ไทย ดังจะเห็นได้จากบทความต่างๆในเว็บไซต์ ในขณะที่พฤติกรรมอุกอาจแต่เป็นที่น่าสังเกตว่าไม่มีการดำเนินการใดๆอย่างจริงจังจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ
 
เว็บไซต์ฟ้าเดียวกันเคยเข้าถึงไม่ได้เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2551 โดยเจ้าของระบุว่าเป็นเพราะเอกชนผู้ให้บริการพื้นที่บนอินเทอร์เน็ต ยกเลิกการให้บริการหลังจากผู้ให้บริการรับฝากเครื่องเซิร์ฟเวอร์ปิดเครื่องเซิร์ฟเวอร์เพราะ[[กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]]สั่งการ ด้วยเหตุที่มีเนื้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ต่อมากระทรวงฯ ปฏิเสธว่าไม่ได้มีการปิดกั้นแต่อย่างใด แต่ได้ให้เจ้าหน้าที่หาข้อมูลความเป็นมาและจับตาการให้บริการ เพราะเนื้อหาค่อนข้างรุนแรงและไม่เหมาะสม<ref>ไทยรัฐ, [http://www.thairath.co.th/news.php?section=technology03b&content=74548 'ไอซีที' ปัดสั่งบล็อกเว็บ 'ฟ้าเดียวกัน'], 9 มกราคม 2551</ref>
 
== กรณีถูกห้ามขาย จ่าย แจกและยึดหนังสือโดยคำสั่งของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ==
วารสารฉบับ ''สถาบันกษัตริย์กับสังคมไทย'' ที่มุ่งประเด็นการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย โดยการมองสถาบันกษัตริย์เป็นศูนย์กลาง ได้ถูกเจ้าพนักงานการพิมพ์สำหรับกรุงเทพมหานคร ลงชื่อโดย [[โกวิท วัฒนะ|พล.ต.อ. โกวิท วัฒนะ]] ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ห้ามการขายหรือจ่ายแจกและให้ยึดสิ่งพิมพ์ดังกล่าว โดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 9 แห่ง[[พระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ. 2484]] ด้วยสาเหตุว่าได้ลงโฆษณาอันอาจจะขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน หนังสือลงวันที่ [[28 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2549]] <ref>ประชาไท, [http://prachatai.com/05web/th/home/3201 สตช. สั่งยึด ’ฟ้าเดียวกัน’ ฉบับสถาบันกษัตริย์กับสังคมไทย], 29 มีนาคม พ.ศ. 2549</ref> เจ้าหน้าที่ยังไม่ได้ระบุว่าข้อความใดในวารสารที่เข้าข่ายผิดในข้อหาดังกล่าว แต่ผู้อ่านหลายคนเชื่อว่าบทความที่เป็นปัญหา คือบทสัมภาษณ์ [[สุลักษณ์ ศิวรักษ์]] ชื่อ "การมีสถาบันกษัตริย์ถูกกว่าประธานาธิบดี"
 
ทางฟ้าเดียวกันได้อุทธรณ์โดยใช้มาตรา 10 ของพ.ร.บ.การพิมพ์ว่า คำสั่งเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายเพราะไม่เปิดให้มีการชี้แจงข้อเท็จจริง นอกจากนี้ทางฟ้าเดียวกันยังได้กล่าวว่า พ.ร.บ. การพิมพ์ พ.ศ. 2484 นั้นขัดกับ[[รัฐธรรมนูญ]] รวมถึงได้ยืนยันสิทธิในการเพยแพร่ ตามแนวทาง[[อารยะขัดขืน]] โดยจะพิมพ์ซ้ำอีกไม่ต่ำกว่า 6,000 เล่ม และพร้อมเข้าสู่กระบวนการตามกฎหมายทุกกระบวนการถ้ามีการแจ้งความ<ref>ประชาไท, [http://prachatai.com/05web/th/home/3247 บ.ก. ฟ้าเดียวกัน ลั่น "ผมไม่กลัวคุณ" เตรียมฟ้องศาลปกครองกรณี สตช. ยึดหนังสือ], 31 มีนาคม พ.ศ. 2549</ref><ref>ประชาไท, [http://prachatai.com/05web/th/home/3256 เปิดใจ ‘ธนาพล อิ๋วสกุล’ แห่ง ‘ฟ้าเดียวกัน’], 31 มีนาคม พ.ศ. 2549</ref>
 
ธนาพล อิ๋วสกุล ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจ สน. สำราญราษฎร์ แจ้งข้อหา[[หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ]] เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2549 โดยพนักงานนัดไปให้ปากคำในวันที่ 4 เมษายน 2549 โดยธนาพลได้เปิดเผยว่าเจ้าหน้าที่ยังไม่ได้ระบุว่าข้อความใดในวารสารที่เข้าข่ายผิดในข้อหาดังกล่าว<ref>ประชาไท, [http://prachatai.com/05web/th/home/3272 บ.ก. ฟ้าเดียวกันถูกแจ้งข้อหา หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ], 2 เมษายน พ.ศ. 2549</ref>
 
== อ้างอิง ==
เส้น 21 ⟶ 19:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://sameskybooks.org/ สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน]
* [http://prachatai.com/05web/th/home/3256 เปิดใจ ‘ธนาพล อิ๋วสกุล’ แห่ง ‘ฟ้าเดียวกัน’] ที่[[ประชาไท]]
* [http://www.sameskybooks.org/board/index.php?showtopic=314 คนไทยทุกคนมีสิทธิในการรับรู้"ความจริง"] กระทู้ที่เว็บบอร์ดฟ้าเดียวกัน ที่ถูกกล่าวหาว่าเข้าข่ายหมิ่นสถาบันกษัตริย์
* [http://facthai.wordpress.com/2007/06/23/se-ed-banned-sameskymag/ เซ็นเซอร์ลามถึงเอกชน ซีเอ็ดไม่ขายฟ้าเดียวกัน] FACT
 
[[หมวดหมู่:วารสารไทย]]
[[หมวดหมู่:หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ]]
[[หมวดหมู่:กบฏ]]