ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาปุริสลักขณะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{พุทธศาสนา}}
 
'''มหาปุริสลักขณะ''' คือ ลักษณะของ[[มหาบุรุษ]] มี 32 ประการ คือ
'''มหาปุริสลักขณะ''' ([[ภาษาบาลี|บาลี:]] mahapurissalakkhana) หรือ'''มหาปุริสลักษณะ''' คือ ([[ภาษาบาลี|บาลี:]] mahapurissalaksana) เป็นลักษณะที่บ่งบอกให้รู้ว่าผู้ที่เิกิดมาแล้วมีลักษณะพิืเศษสามสิบสองอย่างนี้จะได้เป็นบุคคลสำคัญอย่างยิ่งหรือที่เรียกว่า "พระโพธิสัตว์" คือสัตว์ที่อาจตรัสรู้ ลักษณะดังกล่าวได้แก่<ref>พระไตรปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิวรรค ฉบับภาษาไทย เล่ม 11 หน้า 158-159.</ref>
# มีฝ่าพระบาทเรียบเสมอกัน
 
# ลายพื้นพระบาทเป็นจักร
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระบาทเรียบเสมอกัน
# มีส้นพระบาทยาว (ถ้าแบ่ง 4 พระชงฆ์ตั้งอยู่ในส่วนที่ 3)
# พื้นภายใต้ฝ่าพระบาททั้งสองข้างของพระโพธิสัตว์ทุกองค์มีลายรูปจักรเกิดขึ้น และจักทั้งสองนั้นมีซี่กำข้างละพัน มีกงและัดุมบริบูรณ์ด้วยอาการทั้งปวง
# มีนิ้วยาวเรียว (นิ้วพระหัตถ์ และพระบาทด้วย)
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีส้นพระบาทยาว
# ฝ่าพระหัตถ์และฝ่าพระบาทอ่อนนุ่ม
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระองคุลียาว
# ฝ่าพระหัตถ์และฝ่าพระบาทมีลายดุจข่าย
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีฝ่าพระหัตถ์และฝ่าพระบาทอ่อนนุ่ม
# มีพระบาทเหมือนสังข์คว่ำอัฐิข้อพระบาทตั้งลอยอยู่หลังพระบาท กลับกลอกได้คล่อง เมื่อทรงดำเนินผิดกว่าสามัญชน
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีฝ่าพระหัตถ์และฝ่าพระบาทอันมีลายดุจข่ายตาข่าย
# พระชงฆ์เรียวดุจแข้งเนื้อทราย
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระบาทรูปเหมือนสังข์คว่ำ
# เมื่อยืนตรง พระหัตถ์ทั้งสองลูบจับถึงพระชานุ
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระชงฆ์รีเรียวดุจแข้งเนื้อทราย
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีเมื่อประทับยืนอยู่ แม้มิได้ก้มลง ก็สามารถเอาฝ่าพระหัตถ์ทั้งสองลูบคลำได้ถึงพระชานุทั้งสอง
# มีพระคุยหะเร้นอยู่ในฝัก
# มีพระฉวีวรรณดุจสีทองวรรณะแห่งทองคำ คือ มีพระตจะประดุจหุ้มด้วยทองคำ
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระฉวีละเอียด และเพราะเหตุที่พระฉวีละเอียด ธุลีละอองจึงไม่ติดอยู่ในพระกาย.ได้
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระโลมชาติอันมีปลายงอนขึ้นข้างบน มีสีเขียวเหมือนดอกอัญชัน และขดเป็นกุณฑลทักษิณาวัฏ
# มีเส้นพระโลมาเฉพาะขุมละเส้นๆ
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระโลมชาติเส้นหนึ่งในขุมหนึ่งขุม
# เส้นพระโลมาดำสนิท เวียนเป็นทักษิณาวัฏ มีปลายงอนขึ้นข้างบน
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระกายตรงเหมือนพรหม
# พระกายตั้งตรงดุจท้าวมหาพรหม
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระมังสะอูมเต็มในที่ 7 เจ็ดแห่ง (คือ 1. ที่หลังพระหัตถ์ทั้งสองข้าง 2. และที่หลังพระบาททั้งสองข้าง 23. ที่จะงอยพระอังสะทั้งสองข้าง 2และ กับลำ4. ที่พระศอ)
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีส่วนพระสรีรกายบริบูรณ์ (ล่ำพี) ดุจกายท่อนบนเหมือนกึ่งกายท่อนข้างหน้าแห่งพญาของราชสีห์
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีระหว่างพระอังสะเต็ม
# พระปฤษฎางค์ราบเต็มเสมอกัน
# ส่วนพระกายเป็นโพธิสัตว์ทุกองค์มีปริมณฑลดุจปริมณฑลแห่งต้นไทรไม้นิโครธ (วาของพระองค์เท่ากับพระกายสูงของพระองค์ พระกายของพระองค์ก็เท่ากับวาของพระองค์)
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีลำพระศอกลม
# มีลำพระศอ กลมงามเสมอตลอด
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีเส้นปลายประสาทสำหรับรับนำรสพระกระยาหารอันอาหารดี
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระหนุดุจคางแห่งราชสีห์ (โค้งเหมือนวงพระจันทร์)
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระทนต์ 40 ซี่ (ข้างละ 20 ซี่)สี่สิบองค์
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระทนต์เรียบเสมอกัน
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระทนต์เรียบสนิทมิได้ห่างกันเลย
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระทาฐะขาวงาม
# เขี้ยวพระทนต์ทั้ง 4 ขาวงามบริสุทธิ์
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระชิวหาใหญ่
# พระชิวหาอ่อนและยาว (อาจแผ่ปกพระนลาฏได้)
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระสุรเสียงดุจท้าวมหาพรหมเสียงพรหม ตรัสมีสำเนียงดุจ[[นกการเวก]]
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระเนตรดำสนิท
# ดวงพระโพธิสัตว์ทุกองค์มีดวงพระเนตรแจ่มใสดุจตาลูกโคเพิ่งคลอด
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระอุณาโลมาบังเกิด ณ ระหว่างพระขนงเวียนขวาเป็นทักษิณาวัฏ โดยมีสีขาวอ่อนเปรียบด้วยนุ่น
# พระโพธิสัตว์ทุกองค์มีพระเศียรงามบริบูรณ์ดุจประดับด้วยกรอบพระพักตร์
 
มหาปุริสลักษณะทั้งสามสิบสองอย่างนี้มีอยู่ในพระโพธิสัตว์ทุกองค์ในชาติสุดท้ายคือชาติที่ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ลักษณะเหล่านี้เป็นลักษณะที่บ่งบอกให้รู้ถึงความยิ่งใหญ่ ซึ่ง[[พระโคตมพุทธเจ้า|พระพุทธเจ้า]]ตรัสรับรองไว้ว่า<ref>พระไตรปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิวรรค ฉบับภาษาไทย เล่ม 11 หน้า 157.</ref>
 
{{คำพูด|ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มหาปุริสลักษณะ 32 ประการนี้ เมื่อมหาบุรุษมีพร้อมแล้วย่อมเป็นเหตุให้มีคติเป็น 2 เท่านั้นไม่เป็นอย่างอื่น คือ ถ้าอยู่ครองเรือนจะได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์...อนึ่ง ถ้ามหาบุรุษนั้นออกจากเรือนผนวชเป็นบรรพชิต จะตรัสรู้เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า มีเครื่องมุงบังเกิดคือกิเลสอันเปิดแล้วในโลก}}
 
== อ้างอิง ==
{{reflist}}
* บรรจบ บรรณรุจิ. (2544). ''พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยอยุธยา โคลงยวนพ่าย ฉบับราชบัณฑิยสถาน.'' กรุงเทพฯ : บริษัท นิวไทยมิตรการพิมพ์ (1996) จำกัด. หน้า 299-301.
 
[[หมวดหมู่:พระพุทธเจ้า]]