ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มอาการลำไส้ไวเกินต่อการกระตุ้น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pim1984 (คุย | ส่วนร่วม)
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นของ BotKung ด้วยสจห.: ละเมิดลิขสิทธิ์จาก http://www.bkknews.net/newbkk1/Bkknawat/detail.php?idnew=50
บรรทัด 21:
 
== สาเหตุ ==
เกิดจากการการเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด รับประทานอาหารในแต่ละมื้อรวดเร็วเกินไป เช่น ทานอาหารเสร็จภายใน 5 นาที และตัวอาหารที่ทำให้เกิดลม
ปัจจุบันยังไม่พบสาเหตุที่แน่นอนของโรคลำไส้แปรปรวน แต่จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของโรคนี้ มี 3 อย่างที่สำคัญได้แก่
 
'''การบีบตัวของลำไส้ผิดปกติ''' เป็นผลมาจากการหลั่งสารหรือฮอร์โมนที่ผิดปกติบางอย่างในผนังลำไส้ ทำให้เกิดอาการปวดท้อง ท้องผูก หรือท้องเสียได้
 
'''ระบบประสาทที่ผนังลำไส้ไวต่อสิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้นมากผิดปกติ''' ตัวกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการได้แก่ อาหารเผ็ด กาแฟ แอลกอฮอล์ทุกชนิด ช็อกโกแลต เป็นต้น รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ ได้แก่ ความเครียด ความวิตกกังวล เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นก็ทำให้ผนังลำไส้บีบตัวผิดปกติ ทำให้เกิดอาการปวดท้อง ท้องผูก หรือท้องเสียได้
 
'''มีความผิดปกติในการควบคุมการทำงานของลำไส้''' ระหว่างประสาทรับความรู้สึกที่ผนังลำไส้ ระบบกล้ามเนื้อของลำไส้และสมอง โดยเกิดจากความผิดปกติของสารที่ควบคุมการทำงานของลำไส้ ซึ่งมีอยู่หลายชนิด
 
== การป้องกันและรักษา ==
ถึงแม้ผู้ป่วยไปหาหมอแล้วก็ตามหมอทำได้เพียงจ่ายยาปรับสมดุลของกระเพาะและลำไส้มาเท่านั้น ซึ่งไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ตราบใดที่ไม่ปรับเปลี่ยนวิถีการรับประทาน
ปัจจุบันยังไม่มียาชนิดใดที่สามารถรักษาโรคนี้ให้หายขาดได้ เนื่องจากผู้ป่วยโรคนี้มักจะมีอาการหลายอย่างร่วมกัน ยาที่ใช้มักจะทำให้อาการบางอย่างดีขึ้นเท่านั้น การรักษาด้วยยา แพทย์จะเป็นผู้พิจารณาในการให้ยาที่เหมาะสมกับอาการของผู้ป่วย แต่การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยจะช่วยให้อาการของโรคนี้ดีขึ้นได้ ตราบใดที่ไม่ปรับเปลี่ยนวิถีการรับประทาน
* งดอาหารที่ทำให้เกิดลม เช่น บางคนอาจจะไม่รู้ว่าตัวเองแพ้[[นม]] และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับนม [[กาแฟ]] อาหารรสจัด เนื้อสัตว์
* เลือกอาหารที่ดีต่อกระเพาะและลำไส้ เช่น หันมากิน[[ข้าวกล้อง]] ทาน[[ผัก]]และ[[ผลไม้]]มากขึ้น เปลี่ยนขนมขบเคี้ยวมาเป็น[[ธัญพืช]]ต่างๆ
เส้น 38 ⟶ 32:
== อ้างอิง ==
* นิตยสารชีวจิต ฉบับวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551
* ‘ ลำไส้แปรปรวน ' โรคร้าย ทำลายคุณภาพชีวิต
 
 
[[หมวดหมู่:กลุ่มอาการ]]