ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทองประศรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ทองประศรี'''เป็นชื่อตัวละครหญิงตัวสำคัญซึ่งมีบทบาทตั้งแต่ต้นจนจบในเสภาเรื่อง[[ขุนช้างขุนแผน]] โดยเป็นภริยาของข้าราชการทหารชื่อ[[ขุนไกรพลพ่าย]]และเป็นมารดาของ[[พลายแก้ว]] นางทองประศรีนั้นเป็นตัวอย่างของหญิงไทยแต่โบราณซึ่งมีความรู้ความสามารถและช่วยเหลือส่งเสริมผู้อื่นให้เป็นคนดี ซึ่งตรงกันข้ามกับ[[นางศรีประจัน]]มารดาของ[[นางวันทอง]]
 
== ประวัติพื้นเพ ==
 
นางทองประศรีนั้นเดิมเป็นชาวบ้านวัดตะไกร [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] พบรักกับข้าราชการทหารสังกัด[[กรมอาทมาต]]ชื่อขุนไกรพลพ่ายซึ่งเป็นชาวจังหวัดเดียวกัน และเมื่อสมรสแล้วก็ย้ายไปอยู่กับสามีที่บ้านพลับ [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] ทั้งสองมีบุตรชายเพียงคนเดียวชื่อ "[[พลายแก้ว]]"
บรรทัด 11:
คติที่ว่ามีทางทำมาหากินให้ร่ำรวยได้ในราชการนั้น ถึงในปัจจุบันนี้ก็ดูเหมือนจะยังไม่หมดไป}}
 
== การถึงแก่กรรมของสามี ==
ต่อมาขุนไกรพลพ่ายต้องพระราชอาญาถึงประหารชีวิต ในคืนที่ขุนไกรพลพ่ายอาศัยอยู่บ้านครั้งสุดท้ายนั้น นางทองประศรีฝันร้ายเป็นลางบอกเหตุว่าฟันของตนร่วงจากปาก ฝันเช่นนี้เชื่อกันว่าเป็นฝันร้ายนักเพราะถ้าใครฝันแล้ว บิดา มารดา สามี หรือภรรยาของผู้ฝันนั้นจะถึงแก่ความตาย หม่อมราชวงศ์[[คึกฤทธิ์ ปราโมช]] อธิบายว่า<ref>คึกฤทธิ์ ปราโมช. (2539). "ขุนช้างขุนแผน ฉบับอ่านใหม่".'' คึกฤทธิ์ ปราโมช.'' กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. (อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันเสาร์ที่ 23 ธันวาคม 2538). หน้า 182.</ref>
 
ต่อมา[[ขุนไกรพลพ่าย]]ต้องพระราชอาญาถึงประหารชีวิต ในคืนที่ขุนไกรพลพ่ายอาศัยอยู่บ้านครั้งสุดท้ายนั้น นางทองประศรีฝันร้ายเป็นลางบอกเหตุว่าฟันของตนร่วงจากปาก ฝันเช่นนี้เชื่อกันว่าเป็นฝันร้ายนักเพราะถ้าใครฝันแล้ว บิดา มารดา สามี หรือภรรยาของผู้ฝันนั้นจะถึงแก่ความตาย หม่อมราชวงศ์[[คึกฤทธิ์ ปราโมช]] อธิบายว่า<ref>คึกฤทธิ์ ปราโมช. (2539). "ขุนช้างขุนแผน ฉบับอ่านใหม่".'' คึกฤทธิ์ ปราโมช.'' กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. (อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันเสาร์ที่ 23 ธันวาคม 2538). หน้า 182.</ref>
 
{{คำพูด|เรื่องนี้ก็เป็นเรื่องแปลก ผมเองเป็นคนไม่ค่อยจะเชื่อถือในโชคลางแต่อย่างใดเลย โดยเฉพาะเรื่องฝันนั้นถ้าจะว่าไปก็เกือบฝันไม่เป็น และถ้าเกิดฝันขึ้นแล้วก็มักจะจำไม่ได้เมื่อตื่นขึ้น...แต่ในคืนก่อนที่พ่อผมจะตายนั้น ผมจำได้เป็นแน่นอนว่า ผมฝันว่าฟันผมยุ่ยเป็นแป้งไปทั้งปากจนไม่มีเหลือ พอตื่นขึ้นในรุ่งเช้าวันนั้นอีกไม่กี่ชั่วโมงพ่อผมก็ตาย}}
เส้น 18 ⟶ 20:
 
นางทองประศรีได้เริ่มกิจการค้าขายและกลับมีฐานะดีอีกครั้ง จนลูกชายอายุได้สิบห้าปีจึงพาไปบวชเป็นสามเณรเพื่อให้ศึกษาหาความรู้อยู่ที่[[วัดส้มใหญ่]]โดยมี[[สมภารบุญ]]เป็นอาจารย์ ต่อมาเณรแก้วเดินทางไปจังหวัดสุพรรณบุรีเพื่อศึกษาเพิ่มเติมกับ[[สมภารมี]]ที่วัดป่าเลไลย์ และ[[สมภารคง]] วัดแค กระทั่งในที่สุดเณรแก้วก็ลาจากอาจารย์เพื่อแต่งงาน นางทองประศรีก็ขัดไม่ได้และจัดการตบแต่งให้
 
== การทำหน้าที่เป็นย่า ==
 
เมื่อพลายแก้วทำความดีความชอบถึงได้รับ[[บรรดาศักดิ์]]ที่ "ขุนแผนแสนสะท้าน" จนกระทั่งตกอับต้องติดคุก นางทองประศรีก็คงทำมาหากินเลี้ยงตัวเอง และยังต้องเลี้ยงหลานชายคือ[[พลายงาม]]ซึ่งหนีภัยพ่อเลี้ยงคือ[[ขุนช้าง]]มาจากจังหวัดสุพรรณบุรีจนพลายงานเติบโตอายุได้สิบห้าปี