ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาจุฬาลงกรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 9:
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระราชนิพนธ์ทำนองเพลงเมื่อวันที่ [[18 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2492]] โดยเป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรกที่ใช้ทำนองเพลงแบบ Pentatonic Scale หรือ Five Tone Scale ซึ่งหมายถึง ในบทเพลงจะประกอบด้วย[[ตัวโน๊ต]]ทั้งหมดเพียง 5 เสียงเท่านั้น
 
เมื่อปี [[พ.ศ. 2492]] [[เนื่องจากในขณะนั้นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ยังไม่มีเพลงประจำสถาบัน ศาสตราจารย์ ม.ร.ว.สุมนชาติ สวัสดิกุล จึงได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานเพลงประจำมหาวิทยาลัย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานทำนองเพลงแบบใช้นี้ Pentatonicโดยมี[[สมโรจน์ Scaleสวัสดิกุล คือ 5 เสียง ซึ่งได้ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ก่อนแล้ว พระราชทานแก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโปรดเกล้าฯ ให้ใส่คำร้องเอง ภายหลังอยุธยา|ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา]] กับนายและ [[สุภร ผลชีวิน]] จึงได้เป็นผู้ประพันธ์คำร้องขึ้นถวาย
 
เมื่อต้นหลังจากนั้น ในปี [[พ.ศ. 2497]] พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นาย[[เทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล]] นำทำนองเพลง '''"มหาจุฬาลงกรณ์"''' ในแนวสากลมา แต่งทำให้เป็นแนวไทยเดิมเพื่อให้เป็นเพลงโหมโรง ก่อนบรรเลงดนตรีไทย นายเทวาประสิทธิ์ รับพระราชทานลงมาทำ และบรรเลงถวายด้วย[[วงปี่พาทย์]]ถึงสองครั้งด้วยกัน หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงแก้ไขจนเป็นที่พอพระราชหฤทัยแล้ว จึงพระราชทานเพลงนี้แก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาเมื่อนายเทวาประสิทธิ์ไปสอนดนตรีไทยให้แก่ชมรมดนตรีของสโมสรนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้นำ '''"เพลงโหมโรงมหาจุฬาลงกรณ์"''' มาสอนนิสิตชมรมดนตรีไทย และใช้เป็นเพลงโหมโรงในการบรรเลงดนตรีไทยของชมรม ฯ ตลอดมา
 
ในปัจจุบัน '''"เพลงพระราชนิพนธ์ มหาจุฬาลงกรณ์"''' เป็นเพลงประจำสถาบันของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย