ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประตูเมืองนครราชสีมา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kbambam (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 3:
[[ภาพ:2007823201441.jpg|thumb|right|กำแพงเมือง และคูเมืองนครราชสีมา ในสมัยอดีต]]
[[ภาพ:กำแพงเมือง.jpg|thumb|right|กำแพงเมือง และคูเมืองนครราชสีมา ในสมัยอดีต]]
ในสมัยแผ่นดิน [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] (พ.ศ. 2199 - พ.ศ. 2231) ได้โปรดให้ย้ายมีพระราชดำริว่า ดินแดนภาคอีสานเป็นฉนวนป้องกันการรุกรานของขแมร์([[เขมร]])[[ลาว]] [[ญวน]] และเป็นหัวเมืองนครราชสีมาจากท้องที่ใหญ่ควบคุมเขมรป่าดงที่ขึ้นแก่ไทย อำเภอสูงเนินมาตั้งอยู่ในที่ขณะนั้น มีเมืองเสมา เมืองโคราช และเมืองพิมาย เป็นชุมชนใหญ่ ควรจะตั้งปัจจุบันเป็นหน้าด่านได้ โดยจึงโปรดให้สร้างเมืองเป็นที่มีป้อมปราการแบบฝรั่ง ในฐานะเมืองสำคัญชายพระราชอาณาเขตขึ้น โดยเกณฑ์ช่างจากกรุงศรีอยุธยา เกณฑ์แรงงานจากเมืองโคราช กับเมืองเสมา ช่วยกันสร้างเมืองใหม่ ห่างจากเมืองโคราชเก่าในท้องที่ อำเภอสูงเนิน ไปทางทิศตะวันออก 800 เส้น (32 กิโลเมตร) ซึ่งก็คือ พื้นที่ตัวเมืองเก่าบริเวณ ภายในบริเวณเขตกำแพงเมือง และ คูเมืองในปัจจจุบัน ปัจจุบัน
 
มีพื้นที่ภายในประมาณ 1,000 ไร่ หรือ 1.60 ตารางกิโลเมตร มีนายช่างชาวฝรั่งเศสเป็นผู้วางผังเมือง [[ผังเมือง]]มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม '''รูปกลองชัยเภรี''' มีความกว้างประมาณ 1,000 เมตร (1[[มาตราวัดความยาวของไทย#มาตราวัดของไทยในประวัติศาสตร์และวรรณคดี|มาตราวัดของไทย]] กิโลเมตร: 25 เส้น) ยาวประมาณ 1,700 เมตร ([[มาตราวัดความยาวของไทย#มาตราวัดของไทยในประวัติศาสตร์และวรรณคดี|มาตราวัดของไทย]] : 43 เส้น) มีพื้นที่ภายในประมาณ 1,000 ไร่ ( 1.760 [[ตารางกิโลเมตร|ตร.กม.]] ขุดคูกว้าง 20 เมตร(10 วา)โครงสร้าง ลึก 6 เมตร (3 วา) ยาวล้อมรอบเมือง โครงข่ายถนนภายใน ตัดกัน มีรูปแบบเป็น ตารางหมากรุก (grid pattern) ก่อสร้างกำแพงเมือง โดยก่ออิฐขึ้นจากหินศิลาแลง มีความสูง 6 เมตร (3 วา) ยาวโดยรอบ 5,220 เมตร (2,610 วา) บนกำแพงมีใบเสมาโดยรอบ จำนวน 4,302 ใบ (แต่เดิม ใบเสมาเป็นรูปสี่เหลี่ยมแบบฝรั่ง แต่พระยมราช แก้เป็น ใบเสมาแบบไทย) มีป้อมประจำกำแพง และ ป้อมตามมุมกำแพงรวม 15 ป้อม มีประตูเมืองกว้าง 3 เมตร (1 วา 2 ศอก)จำนวน 4 ประตู พร้อมทั้งได้ทำการขุดคูล้อมรอบตัวเมือง โดยประตูเมืองทั้ง 4 เป็นทางเข้าออกเมืองทั้งสี่ทิศ <ref>[http://www.geocities.com/sikuidho/P1.htm ประวัติศาสตร์จังหวัดนครราชสีมา]</ref>
 
บริเวณซุ้มประตูเมือง จะมีหอยามรักษาการณ์ - เชิงเทิน รูปแบบเป็นทรงไทยโบราณ ศิลปะสมัยอยุธยา หลังคามุงด้วยกระเบื้องดินเผา มีช่อฟ้าใบระกาเหมือนกันหมดทุกแห่ง มีชื่อเรียกประตูเมืองทั้ง 4 นี้ว่า
:# [[ประตูชุมพล]]
:# [[ประตูพลแสน]]
:# [[ประตูพลล้าน]]
:# [[ประตูไชยณรงค์]]
 
เมื่อระยะเวลาผ่านไป สิ่งก่อสร้างบางอย่างได้ถูกทำลายลง เมื่อครั้งที่ได้เกิดศึกกับเจ้าอนุวงศ์ แห่งกรุงเวียงจันทน์ ที่ได้เข้ามายึดเมืองนครราชสีมา กอร์ปกับส่วนหนึ่งถูกสภาพภูมิอากาศ และ ภัยธรรมชาติ เช่น แสงแดด ลม และ ฝน ทำลายเสียหายไปบ้าง ทำให้ทรุดโทรมลง เหลือแต่เพียง ประตูเดียวก็คือ ประตูชุมพล ที่ยังหลงเหลือโครงสร้างเดิมไว้อยู่