ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประตูเมืองนครราชสีมา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kbambam (คุย | ส่วนร่วม)
Kbambam (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 3:
[[ภาพ:2007823201441.jpg|thumb|right|กำแพงเมือง และคูเมืองนครราชสีมา ในสมัยอดีต]]
[[ภาพ:กำแพงเมือง.jpg|thumb|right|กำแพงเมือง และคูเมืองนครราชสีมา ในสมัยอดีต]]
ในสมัยแผ่นดิน [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] (พ.ศ. 2199 - พ.ศ. 2231) ได้โปรดให้ย้ายเมืองนครราชสีมาจากท้องที่ อำเภอสูงเนินมาตั้งอยู่ในที่ตั้งปัจจุบัน โดยสร้างเมืองเป็นป้อมปราการ ในฐานะเมืองสำคัญชายพระราชอาณาเขตขึ้นใหม่ ซึ่งก็คือพื้นที่ตัวเมืองเก่าบริเวณ ภายในเขตกำแพงเมือง และ คูเมืองในปัจจจุบัน <ref>[http://www.geocities.com/sikuidho/P1.htm ประวัติเมืองนครราชสีมา]</ref>
 
มีพื้นที่ภายในประมาณ 1,000 ไร่ หรือ 1.60 ตารางกิโลเมตร มีนายช่างชาวฝรั่งเศสเป็นผู้วางผังเมือง ผังเมืองมีลักษณะเป็น '''รูปกลองชัยเภรี''' มีความกว้างประมาณ 1,000 เมตร (1 กิโลเมตร) ยาวประมาณ 1,700 เมตร (1.7 กิโลเมตร)โครงสร้างถนนภายในตัดกัน มีรูปแบบเป็น ตารางหมากรุก (grid pattern) ก่อสร้างกำแพงเมือง โดยก่ออิฐขึ้นจากหินศิลาแลง มีป้อมประจำกำแพง และ ป้อมตามมุมกำแพงรวม 15 ป้อม ประตูเมือง 4 ประตู พร้อมทั้งได้ทำการขุดคูล้อมรอบตัวเมือง โดยประตูเมืองทั้ง 4 เป็นทางเข้าออกเมืองทั้งสี่ทิศ <ref>[http://www.geocities.com/sikuidho/P1.htm ประวัติศาสตร์จังหวัดนครราชสีมา]</ref>
 
บริเวณซุ้มประตูเมือง จะมีหอยามรักษาการณ์ - เชิงเทิน รูปแบบเป็นทรงไทยโบราณ ศิลปะสมัยอยุธยา หลังคามุงด้วยกระเบื้องดินเผา มีช่อฟ้าใบระกาเหมือนกันหมดทุกแห่ง มีชื่อเรียกประตูเมืองทั้ง 4 นี้ว่า