ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมัคร สุนทรเวช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงเนื้อหาให้เป็นที่ยอมรับได้ทุกฝ่าย
Blacknut (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 1361885 สร้างโดย ZenithZealotry (พูดคุย) แอบลบข้อมูลทำไมจ๊ะ อย่
บรรทัด 41:
* [[สุมิตร สุนทรเวช|นายสุมิตร สุนทรเวช]] - นักการเมือง หัวหน้า[[พรรคประชากรไทย]]
 
สมัคร สมรสกับ [[สุรัตน์ สุนทรเวช|คุณหญิงสุรัตน์ สุนทรเวช]] ที่ปรึกษาด้านการเงินของบริษัทใน [[เครือเจริญโภคภัณฑ์]] มีบุตรสาวฝาแฝด คือ กานดาภา และกาญจนากร ปัจจุบันสมรสแล้วทั้งคู่ จากการที่ภรรยาทำงานอยู่กับบริษัทเอกชนมาตั้งแต่ [[พ.ศ. 2505]] สถานะการเงินของภรรยาจึงมั่นคงพอที่จะดูแลครอบครัวได้ นายสมัครจึงเลยมิได้ทำงานประจำให้กับหน่วยงานใด และได้ทำงานด้านการเมืองเพียงอย่างเดียว มาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2516]] เนื่องจากสถานะการเงินของภรรยามั่นคงพอที่จะดูแลครอบครัวได้
 
== ประวัติการศึกษา ==
บรรทัด 112:
สมัคร สุนทรเวช ได้รับเลือกเป็น[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2543 ด้วยคะแนนเสียง 1,016,096 คะแนน ซึ่งเป็นคะแนนเสียงมากที่สุด นับตั้งแต่มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยผู้ได้คะแนนอันดับ 2 คือ [[สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์|นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์]] ผู้สมัครจาก[[พรรคไทยรักไทย]] ไดัรับคะแนนเสียงเพียง 521,184 คะแนน
 
สมัคร ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ระหว่างปี พ.ศ. 2543-2547 นับเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 13 และเป็นคนที่ 5 ที่มาจากการเลือกตั้ง นอกจากนี้ ยังเป็นหลังจากพ้นตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนแรก ที่เกิดภายหลัง[[ถูกขุดคุ้ยเรื่องราวการปฏิวัติสยามทุจริต พ.ศ.กรณีจัดซื้อรถดับเพลิง 2475]]และเรือดับเพลิง ที่ยังถูกดำเนินการตรวจสอบอยู่ในปัจจุบัน
 
== การเลือกตั้งวุฒิสภา 2549 ==
บรรทัด 123:
[[ภาพ:551000001308510.jpg|190*230px|thumb|นายสมัคร สุนทรเวช ทำพิธีรับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ที่บ้านพัก]]
[[ภาพ:PressConfCenter_02.jpg|190px|thumb|นายสมัคร สุนทรเวช แถลงข่าว ที่ศูนย์แถลงข่าวรัฐบาล ตึกนารีสโมสร [[ทำเนียบรัฐบาล]] ]]
 
{{ดูเพิ่มที่|คณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 ของไทย}}
 
เส้น 128 ⟶ 129:
<ref>[http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9510000011976&Keyword=%e2%bb%c3%b4%e0%a1%c5%e9%d2 พระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี]</ref> วันที่ [[6 กุมภาพันธ์]] นายสมัครยังได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม]] อีก 1 ตำแหน่ง ซึ่งเป็นพลเรือนคนที่ 3 ที่ดำรงตำแหน่งนี้
 
ต่อมาวันที่ [[9 กันยายน]] [[พ.ศ. 2551]] นาย[[ชัช ชลวร]] ประธาน[[ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ]] พร้อมคณะ ได้ออกนั่งบัลลังก์อ่านคำวินิจฉัย ในกรณีที่ประธานวุฒิสภา ส่งความเห็นของ[[สมาชิกวุฒิสภา]]และ[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] (กกต.) ขอให้[[ศาลรัฐธรรมนูญ]]วินิจฉัยความสิ้นสุดการเป็น[[นายกรัฐมนตรี]]ของนายสมัคร ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 267 ประกอบมาตรา 182(7) ที่บัญญัติไม่ให้เป็นลูกจ้างหน่วยงานเอกชน เนื่องจากรับเป็น[[พิธีกร]]กิตติมศักดิ์ ของรายการ “ชิมไปบ่นไป” และ “ยกโขยง 6 โมงเช้า” ซึ่งคณะตุลาการฯ มีมติเป็นเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เห็นว่าการกระทำของนายสมัคร กระทำต้องห้ามขัดต่อรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 267 ที่ว่าด้วยเรื่องคุณสมบัติของนายกรัฐมนตรี จึงทำให้นายสมัครสิ้นสุดความเป็น[[นายกรัฐมนตรี]]ลง แต่ให้คณะรัฐมนตรีรักษาการไปจนกว่าจะมีนายกรัฐมนตรีคนใหม่
 
นอกจากนี้ เมื่อวันที่ [[12 กันยายน]] [[พ.ศ. 2551]] นายสมัครยังได้ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้า[[พรรคพลังประชาชน]] โดยให้เหตุผลว่า ได้ทำหน้าที่หัวหน้าพรรคและรักษาระบอบ[[ประชาธิปไตย]]อย่างดีที่สุดแล้ว จึงขอยุติบทบาททาง[[การเมือง]] ส่วนการดำเนินการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ให้ขึ้นอยู่กับพรรค
 
=== การปฏิบัติงาน ===