ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การดื้อแพ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎แหล่งข้อมูลอื่น: แก้ชื่อบทความ/หนังสือ ตามต้นฉบับ
→‎ดื้อแพ่งในสังคมไทย: สมาสสนธิคำไทย
บรรทัด 40:
# มุ่งเชื่อมโยงกับสำนึกแห่งความยุติธรรม ซึ่งโดยหลักแล้วเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายและสถาบันทางสังคม
 
ก่อนหน้านี้ ช่วงปี [[พ.ศ. 2543]] [[สมชาย ปรีชาศิลปกุล]] ใช้คำว่า '''"สิทธิการดื้อแพ่งต่อกฎหมาย'''" เพื่ออธิบายแนวคิดเดียวกันนี้ ในหนังสือชื่อเดียวกัน<ref>สมชาย ปรีชาศิลปกุล, สิทธิการดื้อแพ่งต่อกฎหมาย : ศาสตร์แห่งการไม่เชื่อฟังรัฐ, สำนักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน พ.ศ. 2543. ISBN 9748768279</ref><ref>วิรพา อังกูรทัศนียรัตน์, [http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name=Sections&op=viewarticle&artid=627 อ่านเอาเรื่อง : รัฐประหาร ทางออกสุดท้ายของการเมืองไทยยุคทักษิณ?], นิตยสาร[[สารคดี (นิตยสาร)|สารคดี]] ฉบับที่ 260 ปีที่ 22, ตุลาคม พ.ศ. 2549</ref> โดยเสนอว่า
 
:''civil disobedience ถือเป็นสิทธิที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ด้วยเหตุว่า เวทีประชาธิปไตยไม่น่าจะคับแคบเพียงการเลือกตั้งที่เป็นทางการ เพราะการใช้สิทธิเช่นนี้ถือได้ว่า เป็นการใช้ประชาธิปไตยทางตรง และดังนั้น จึงมีสถานะเหนือกว่าประชาธิปไตยของนักเลือกตั้งในระบบตัวแทน''
บรรทัด 47:
:''สิทธิที่จะไม่เชื่อฟังรัฐเป็นช่องทางการเคลื่อนไหวเรียกร้องของผู้คนธรรมดาในระบอบประชาธิปไตย นอกเหนือช่องทางปกติ เป็นตัวสร้างสิ่งใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นในสังคม ซึ่งกระทำไม่ได้ในระบบที่ดำรงอยู่ ถือเป็นคุณูปการที่เด่นชัดของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม/ประชาสังคมรูปแบบใหม่ในปัจจุบัน''
 
ในวันที่ [[2 เม.ย.]] [[พ.ศ. 2549]] [[ไชยันต์ ไชยพร|รศ. ดร. ไชยันต์ ไชยพร]] อาจารย์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฉีกบัตรเลือกตั้งของตนทิ้งให้สื่อมวลชนดูหลังจากที่ใช้สิทธิลงคะแนนไม่เลือกผู้ใดแล้ว โดยเขายอมรับว่ากระทำผิดกฎหมายเลือกตั้งและพร้อมสู้คดีในทางกฎหมายต่อไป อย่างไรก็ตามไชยันต์ยืนยันสิทธิของตนตามมาตรา 65 ของรัฐธรรมนูญว่าบุคคลย่อมมีสิทธิต่อต้านโดยสันติวิธี หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ตำรวจได้เชิญตัวไปสอบสวน (อ้าง [http://www.bangkokbiznews.com/specialreport/2Apr/x001_91918.php?news_id=91918] และ [http://prachatai.com/05web/th/home/3273]) หลังจากนั้นนาย[[รัฐเอกราช ราษฎร์ภักดีรัช]] ได้ร่วมฉีกบัตรเลือกตั้งเช่นเดียวกัน โดยรัฐเอกราชได้กล่าวว่าตนเห็นว่าการวางตำแหน่งของคูหาเลือกตั้งนั้นไม่ถูกต้อง จึงได้แต่งชุดดำประท้วงและฉีกบัตรเลือกตั้ง รัฐเอกราชกล่าวว่าตนมีอุดมการณ์เดียวกับไชยันต์ด้วย (อ้าง [http://www.bangkokbiznews.com/2006/04/02/w001_91998.php?news_id=91998]) ล่าสุด[[ศูนย์นิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]ได้ยืนยันว่าจะช่วยเหลือไชยันต์ในทางกฎหมายแล้ว (อ้าง [http://www.bangkokbiznews.com/specialreport/2Apr/x001_92003.php?news_id=92003]) นอกจากในวันเดียวกันนาย[[ยศศักดิ์ โกศยากานนท์]] อาจารย์คณะ[[นิติศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต]] ยังได้ใช้ไม้จิ้มฟันจิ้มนิ้วชี้ตนเองและใช้เลือดในการกากบาทในช่องลงคะแนนของบัตรเลือกตั้ง โดยเขายืนยันว่าได้ศึกษาข้อกฎหมายแล้วไม่ได้เป็นการกระทำผิดต่อกฎหมายแต่อย่างใด แม้ว่ายศศักดิ์จะกล่าวว่าเขาประท้วงตามแนวทางอารยะขัดขืน ถ้าพิจารณาในแง่ที่ว่าการกระทำดังกล่าวไม่ผิดกฎหมายของยศศักดิ์จึงไม่น่าจัดว่าเป็นอารยะขัดขืนหรือดื้อแพ่ง แต่เป็นการประท้วงแบบสันติวิธี
ชัยวัฒน์ได้อธิบายไว้ว่า ได้เลี่ยง<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/2006/03/07/news_20091046.php?news_id=20091046 'อารยะขัดขืน' กับการล้ม 'ระบอบทักษิณ'] หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2549.</ref>ที่จะใช้คำว่า "สิทธิการดื้อแพ่งต่อกฎหมาย" อย่างที่สมชายใช้ เนื่องจากคำว่า "ดื้อแพ่ง" ในภาษาไทยนั้นมีความหมายในนัยไม่สู้ดี และเสนอคำว่า "อารยะขัดขืน" ซึ่งเป็นคำที่มีอคติทางลบแฝงอยู่น้อยกว่า ขณะเดียวกัน ยังเป็นคำ[[กิริยา]]ที่คงคุณลักษณะความเป็นคำในเชิงปฏิบัติเอาไว้
 
=== คำว่า "อารยะขัดขืน" ===
อย่างไรก็ตาม [[แก้วสรร อติโพธิ]] ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการใช้คำว่า ''อารยะ'' ว่าแท้จริงแล้วคำว่า ''civil'' น่าจะหมายถึงคำว่าพลเมือง และเสนอว่าน่าจะแปลเป็นไทยว่า '''การแข็งข้อไม่ยอมเป็นพลเมือง'''<ref>[http://www.matichon.co.th/matichon/matichon_detail.php?s_tag=01pra09230349 คอลัมน์สยามภาษา] หนังสือพิมพ์มติชน ฉบับ วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2549.</ref>
 
ชัยวัฒน์ได้อธิบายไว้ว่า ได้เลี่ยง<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/2006/03/07/news_20091046.php?news_id=20091046 'อารยะขัดขืน' กับการล้ม 'ระบอบทักษิณ'] หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2549.</ref>ที่จะใช้คำว่า "สิทธิการดื้อแพ่งต่อกฎหมาย" อย่างที่สมชายใช้ เนื่องจากคำว่า "ดื้อแพ่ง" ในภาษาไทยนั้นมีความหมายในนัยไม่สู้ดี และเสนอคำว่า "อารยะขัดขืน" ซึ่งเป็นคำที่มีอคติทางลบแฝงอยู่น้อยกว่า ขณะเดียวกัน ยังเป็นคำ[[กิริยา]]ที่คงคุณลักษณะความเป็นคำในเชิงปฏิบัติเอาไว้<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/2006/03/07/news_20091046.php?news_id=20091046 'อารยะขัดขืน' กับการล้ม 'ระบอบทักษิณ'] หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2549.</ref>
ในวันที่ [[2 เม.ย.]] [[พ.ศ. 2549]] [[ไชยันต์ ไชยพร|รศ. ดร. ไชยันต์ ไชยพร]] อาจารย์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฉีกบัตรเลือกตั้งของตนทิ้งให้สื่อมวลชนดูหลังจากที่ใช้สิทธิลงคะแนนไม่เลือกผู้ใดแล้ว โดยเขายอมรับว่ากระทำผิดกฎหมายเลือกตั้งและพร้อมสู้คดีในทางกฎหมายต่อไป อย่างไรก็ตามไชยันต์ยืนยันสิทธิของตนตามมาตรา 65 ของรัฐธรรมนูญว่าบุคคลย่อมมีสิทธิต่อต้านโดยสันติวิธี หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ตำรวจได้เชิญตัวไปสอบสวน (อ้าง [http://www.bangkokbiznews.com/specialreport/2Apr/x001_91918.php?news_id=91918] และ [http://prachatai.com/05web/th/home/3273]) หลังจากนั้นนาย[[รัฐเอกราช ราษฎร์ภักดีรัช]] ได้ร่วมฉีกบัตรเลือกตั้งเช่นเดียวกัน โดยรัฐเอกราชได้กล่าวว่าตนเห็นว่าการวางตำแหน่งของคูหาเลือกตั้งนั้นไม่ถูกต้อง จึงได้แต่งชุดดำประท้วงและฉีกบัตรเลือกตั้ง รัฐเอกราชกล่าวว่าตนมีอุดมการณ์เดียวกับไชยันต์ด้วย (อ้าง [http://www.bangkokbiznews.com/2006/04/02/w001_91998.php?news_id=91998]) ล่าสุด[[ศูนย์นิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]ได้ยืนยันว่าจะช่วยเหลือไชยันต์ในทางกฎหมายแล้ว (อ้าง [http://www.bangkokbiznews.com/specialreport/2Apr/x001_92003.php?news_id=92003]) นอกจากในวันเดียวกันนาย[[ยศศักดิ์ โกศยากานนท์]] อาจารย์คณะ[[นิติศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต]] ยังได้ใช้ไม้จิ้มฟันจิ้มนิ้วชี้ตนเองและใช้เลือดในการกากบาทในช่องลงคะแนนของบัตรเลือกตั้ง โดยเขายืนยันว่าได้ศึกษาข้อกฎหมายแล้วไม่ได้เป็นการกระทำผิดต่อกฎหมายแต่อย่างใด แม้ว่ายศศักดิ์จะกล่าวว่าเขาประท้วงตามแนวทางอารยะขัดขืน ถ้าพิจารณาในแง่ที่ว่าการกระทำดังกล่าวไม่ผิดกฎหมายของยศศักดิ์จึงไม่น่าจัดว่าเป็นอารยะขัดขืนหรือดื้อแพ่ง แต่เป็นการประท้วงแบบสันติวิธี
 
"สุดสงวน" คอลัมนิสต์ประจำนิตยสารสกุลไทย ให้ความเห็นว่า การนำ "อารยะ" ซึ่งเป็นคำสันสกฤต มาสมาสหรือสนธิกับ "ขัดขืน" ซึ่งเป็นคำไทยนั้น ไม่เข้าหลักเกณฑ์ทางภาษา แต่ขณะเดียวกันก็นึกไม่ออกว่าจะหาคำใดมาใช้แทนคำที่ชัยวัฒน์ใช้ได้<ref>สุดสงวน, [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=4731&stissueid=2693&stcolcatid=2&stauthorid=17 ภาษายุคสมัยขัดแย้งทางความคิด], นิตยสาร[[สกุลไทย]], ฉบับที่ 2693 ปีที่ 52, 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2549</ref>
 
อย่างไรก็ตาม [[แก้วสรร อติโพธิ]] ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการใช้คำว่า ''อารยะ'' ว่าแท้จริงแล้วคำว่า ''civil'' น่าจะหมายถึงคำว่าพลเมือง และเสนอว่าน่าจะแปลเป็นไทยว่า '''"การแข็งข้อไม่ยอมเป็นพลเมือง'''"<ref>[http://www.matichon.co.th/matichon/matichon_detail.php?s_tag=01pra09230349 คอลัมน์สยามภาษา] หนังสือพิมพ์มติชน ฉบับ วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2549.</ref>
 
== อ้างอิง ==