ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:กฎเข้าใจง่าย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: zh-yue:Wikipedia:簡明規矩
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
 
เมื่อคุณมีประสบการณ์มากขึ้น คุณอาจจะเรียนรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติเรื่องรูปแบบ วิธีลัด ฯลฯ แต่ไม่ต้องห่วงจนเกินไป ถ้าคุณไม่เข้าใจอะไรในตอนแรก เดี๋ยวก็จะมีใครสักคนมาเก็บกวาดให้คุณเอง
<!--
This is an excellent website for ALL your knowledge needs.
 
 
Finally, besides the non-negotiable principle of [[WP:NPOV|Neutral point of view]], this is ''not'' a strict set of rules, but rather a set of voluntary guidelines which you can choose to follow. You might see people do things that are plainly not in accordance with these guidelines, but which may or may not still be well within the actual Wikipedia policies. The ''be graceful'' guideline applies in those situations. :-)
-->
==กฎ==
<!-- ***********Sorting Order******************
The guidelines are ordered so as to eliminate forward references -->
 
# '''[[วิกิพีเดีย:ขอให้กล้าแก้ไขบทความ|กล้าแก้!]]''' เอาเลย มันเป็น[[วิกิ]]! <br />ส่งเสริมคนอื่น, รวมถึงคนที่ไม่เห็นด้วยกับคุณ ให้ทุกคน '''กล้าแก้!'''
เส้น 21 ⟶ 16:
# '''[[วิกิพีเดีย:มุมมองที่เป็นกลาง|มุมมองที่เป็นกลาง]]''' (Neutral point of view, NPOV). เขียนจากมุมมองที่เป็นกลาง นี่เป็นสิ่งที่ไม่มีการเจรจาต่อรองกันได้และเป็น[[m:Foundation issues|หลักการพื้นฐาน]]ของวิกิพีเดีย ทำให้เราสามารถบรรยายโลกของเราอย่างยุติธรรม
#'''[[วิกิพีเดีย:การพิสูจน์ยืนยันได้|การพิสูจน์ยืนยันได้]]'''. บทความควรจะมีเฉพาะสาระที่เคยตีพิมพ์มาแล้วในแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ. ผู้แก้ไขที่จะเพิ่มเติมข้อมูลใหม่ลงในบทความ ควรจะอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือสำหรับข้อมูลชิ้นนั้น มิฉะนั้นมันจะถูกลบออกไปโดยผู้แก้คนใดก็ได้. การจัดหาแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือนั้น เป็นหน้าที่ของผู้ที่ต้องการจะเพิ่มข้อมูลเข้า ไม่ใช่หน้าที่ของผู้ที่ต้องการจะลบข้อมูลออก.
# <small>(แต่)</small> '''เมื่อสงสัย, ไปที่ [[วิกิพีเดีย:หน้าอภิปราย|หน้าอภิปราย]]'''. เรามีเวลาเหลือเฟือที่จะหามติร่วมกัน. <!-- [[วิกิพีเดีย:assume good faith|Mutual respect]] is the guiding behavioural principle of Wikipedia and, although everyone knows that their writing may be edited mercilessly, it is easier to accept changes if the reasons for them are understood. If you discuss changes on the article's ''talk'' (or ''discussion'') page before you make them, you should reach consensus faster and happier. -->
#'''[[วิกิพีเดีย:ลิขสิทธิ์|เคารพลิขสิทธิ์]]'''. วิกิพีเดียใช้สัญญาอนุญาต [[GNU Free Documentation License]]. ทุกอย่างที่คุณใส่เข้ามา จะต้องเข้ากันได้กับสัญญานั้น.
# '''[[วิกิพีเดีย:คำอธิบายอย่างย่อ|คำอธิบายย่อการแก้ไขที่สามารถเข้าใจได้]]''' และมีการอธิบายที่ชัดเจนนั้นเป็นสิ่งที่พึงประสงค์ เนื่องจากจะช่วยให้สมาชิกท่านอื่นรับรู้ และเข้าใจถึงสิ่งที่ผู้แก้ไขต้องการกระทำแล้ว ยังเป็นรายการช่วยจำหากผู้แก้ไขห่างหายจากการแก้ไขบทความหนึ่ง ๆ ที่อาจทำค้างไว้เป็นเวลานาน สิ่งที่ควรระบุไว้คือ '''''สิ่งที่แก้ไข''''' และ '''''เหตุผลของการแก้ไข''''' หากคำอธิบายนั้นมีความยาวมาก สามารถนำไปบันทึกไว้ในหน้าอภิปรายได้ เนื่องจากหลักพื้นฐานสำคัญ (Foundation issues) ของวิกิพีเดียนั้น คือให้ทุกคนสามารถแก้ไขบทความได้ โดยไม่ต้องมีการลงทะเบียน ด้งนั้นจึงมีการแก้ไขบทความเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก และคำอธิบายอย่างย่อนี้จะช่วยให้สามารถเข้าใจถึงการแก้ไขที่เกิดขึ้นได้ง่าย
เส้น 29 ⟶ 24:
# '''นุ่มนวล''': ''ใจกว้างกับสิ่งที่คุณได้รับ, ระมัดระวังกับสิ่งที่คุณทำ''. พยายามอย่างเต็มที่ ยอมรับคำพูดเล่นสำนวนของผู้อื่น ในขณะเดียวกัน ก็พยายามพูดอย่างสุภาพ ชัดเจน ตรงไปตรงมา ให้มากที่สุดเท่าที่คุณจะทำได้
# '''[[วิกิพีเดีย:งดงานค้นคว้าต้นฉบับ|งดงานค้นคว้าต้นฉบับ]]''', ขอความกรุณา. (เมื่อใดที่อ้างถึงแหล่งอ้างอิงเดียวบ่อยครั้ง เขียนมันลงด้วยคำพูดของคุณเอง) ดู [[วิกิพีเดีย:อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย|อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย]].
# '''[[วิกิพีเดีย:ลงชื่อกำกับข้อความของคุณเวลาอภิปราย|ลงชื่อ]]'''. ลงชื่อใน[[วิกิพีเดีย:หน้าอภิปราย|หน้าอภิปราย]] (พิมพ์ <nowiki>~~~~</nowiki> ซึ่งจะถูกแทนที่ด้วย ชื่อผู้ใช้ของคุณ และวันเวลาที่คุณส่ง), แต่ไม่ต้องลงชื่อในหน้าบทความ
# '''ใช้ปุ่ม ดูตัวอย่าง''' เพื่อลดการแก้ซ้อนกัน
# '''[[m:Foundation issues|Foundation issues]]''': There are only 5 actual rules on Wikipedia: NPOV, a free license, the wiki process, the ability of anyone to edit, and the ultimate authority of Jimbo and the board on process matters. If you disagree strongly with them, you may want to consider whether Wikipedia is the right place for you at all. While anything can theoretically be changed on a wiki, the community up to this point has been built on these principles and is highly unlikely to move away from them in the future. A lot of thought has been put into them and they've worked for us so far; do give them a fair shake before attempting to radically change them or leaving the project.