ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลอเรนโซ วัลลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ลอเรนโซ วัลลา (Lorenzo valla) ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น ลอเรนโซ วัลลา: ชื่อใช้ภาษาเดียว
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{แก้ภาษา}}
{{ต้องการวิกิลิงก์}}
{{ต้องการหมวดหมู่}}
ลอเรนโซ วัลลา (Lorenzo valla)
 
[[Image:Lorenzo_Valla.JPG|thumb|ลอเรนโซ วัลลา (Lorenzo valla)]]
 
'''ลอเรนโซ วัลลา''' (Lorenso หรือ Laurentius Valla) (ค.ศ. 1406-1457) ชาวอิตาลี ครอบครัวของวัลลามาจากเมือง Piacenza บิดาของเขาคือ Luca dellea Vallea ซึ่งเป็นนักกฎหมาย วัลลาเป็นนักมนุษยนิยม นักภาษาศาสตร์ และนักศึกษาศาสตร์ วัลลามีความสนใจในการอ่านต้นฉบับของเอกสารสมัยคลาสสิคจนสามารถสังเกตวิวัฒนาการของภาษา วัลลามีไหวพริบในการวิเคราะห์ถ้อยคำและเป็นผู้บุกเบิกในการวิพากษ์วิจารณ์เอกสารต้นฉบับของจริง
 
1. == การศึกษา ==
ลอเรนโซ วัลลา (Lorenso หรือ Laurentius Valla) (ค.ศ. 1406-1457) ชาวอิตาลี ครอบครัวของวัลลามาจากเมือง Piacenza บิดาของเขาคือ Luca dellea Vallea ซึ่งเป็นนักกฎหมาย วัลลาเป็นนักมนุษยนิยม นักภาษาศาสตร์ และนักศึกษาศาสตร์ วัลลามีความสนใจในการอ่านต้นฉบับของเอกสารสมัยคลาสสิคจนสามารถสังเกตวิวัฒนาการของภาษา วัลลามีไหวพริบในการวิเคราะห์ถ้อยคำและเป็นผู้บุกเบิกในการวิพากษ์วิจารณ์เอกสารต้นฉบับของจริง
 
1. การศึกษา
วัลลาจบการศึกษาที่กรุงโรม เขาได้ศึกษาในชั้นเรียนของอาจารย์ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ Leonardo Bruni และ Giovanni Aurispa ซึ่งบุคคลเหล่านี้ได้เป็นผู้สอนในด้านอักษรศาสตร์กรีกและลาตินแก่วัลลา นอกจากนี้เขายังได้เข้าศึกษาที่ University of Padua ในปี ค.ศ. 1428 เขาพยายามที่จะเข้าไปดำรงตำแหน่งในคณะทูตของสันตะปาปา แต่กลับถูกปฏิเสธเพราะอายุยังน้อย ต่อมาในปี ค.ศ. 1429 เขาได้รับหน้าที่ให้เข้าไปสอนวิชา rhetoric (วิชาที่ว่าด้วยสุนทรียศาสตร์ทางด้านภาษา) ที่ Padua แต่ก็ถูกบังคับให้ลาออกหลังจากที่ตีพิมพ์จดหมายที่เป็นการดูถูกวิธีการสอนการวิจัยทางนิติศาสตร์
ในปี ค.ศ. 1431 วัลลาได้บวช และหลังความพยายามที่เขาจะหาความปลอดภัยจากตำแหน่งเลขานุการของผู้เผยแพร่ศาสนาในประเทศจีน เขาได้เดินทางไปที่ Piacenza และจากที่นี่เขาได้เดินทางต่อไปยัง Pavia ที่ซึ่งเขาได้รับตำแหน่งอาจารย์ในการที่จะพูดโน้มน้าวใจ วัลลาได้เดินทางไปยังมหาวิทยาลัยหลายแห่ง และมีการนัดหมายและเข้าบรรยายในหลายเมือง ในปี ค.ศ. 1433 วัลลาได้เดินทางไปยังเมืองเนเปิลส์ และราชสำนักของ Alfonso V of Aragon (Alfonso the Magnanimous, ค.ศ. 1936-1458) ซึ่ง Alfonso ทรงแต่งตั้งให้วัลลาเป็นเลขานุการส่วนพระองค์ และต่อสู้คดีให้วัลลาในการที่เขาได้กล่าวโจมตีฝ่ายตรงข้าม การกล่าวโจมตีครั้งหนึ่งเกิดขึ้นเมื่อวัลลาถูกเรียกเข้ามาสอบสวนหาความผิดในคำกล่าวของเขาเกี่ยวกับเรื่องเทววิทยา รวมถึงการที่เขาปฏิเสธว่า Apostle’s Creed (คำกล่าวของผู้นับถือศาสนาคริสต์ที่เริ่มต้นว่า “I Believe in the god father Almighty …”) มิได้ถูกเรียบเรียงขึ้นมาโดย 12 อัครสาวกของพระเยซู แต่ในที่สุดคำกล่าวหาพวกนี้ก็หมดลง
เส้น 39 ⟶ 38:
Sir Richard Jebb กล่าวว่า งานเขียน “De Elegantiis” ของวัลลาเป็นสัญลักษณ์ถึงการวิพากษ์วิจารณ์การเรียนภาษาลาติน
Erasmus สรุปไว้ใน De ratione studii ว่าไม่มีผู้ชักนำที่ดีกว่าวัลลาแล้ว
 
[[หมวดหมู่:นักเขียน]]
[[หมวดหมู่:ชาวอิตาลี]]