ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาตราตวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดเล็กน้อยในจุดที่กระทำได้ง่าย (ยังมีจุดที่ยุ่งยากมากอีก)
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{ช่วยดูหน่อย}}
'''มาตราตวง''' เป็นมาตราที่นิยมก่อนการมีมาตราชั่ง และวัด โดยในสมัยโบราณนิยมใช้มาตราที่มีอยู่ในตัวเช่นมือ กำมือ ฟายมือ หรือใช้อุปกรณ์หาได้ง่ายๆ เช่นกะลามะพร้าว กระบุงสานจากไม้ไผ่ ซึ่งขนาดใหญ่เล็กแตกต่างกันไปในแต่ละที่แต่ละคน
ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 5 มีความคิดตั้งกระทรวงขึ้นเพื่อจัดการเกี่ยวกับการค้าขาย และจัดการเรื่องมาตรฐานการชั่งตวงวัดให้มีมาตรฐานเดียวกันทั้งในประเทศและการค้าระหว่างประเทศ โดยขอเป็นสมาชิกองค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการชั่งตวงวัดซึ่งได้รับการตอบรับเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2455(ค.ศ.1912)และตราพระราชบัญญัติมาตราขั่งตวงวัด พ.ศ. 2466 เพื่อใช้กำหนดมาตรฐานการชั่ง ตวง วัดในประเทศ ให้สอดคล้องกัน
 
ในระบบเมตริก(เป็นชื่อเก่าของระบบหน่วยSI เปลี่ยนในการประชุมครั้งที่11 ของ CGPM ปี 1960) หน่วยวัดปริมาตรในระบบ SI (The International System of Units,SI) หน่วยแสดงปริมาตรจะใช้หนึ่งในเจ็ดหน่วยหลัก(SI Base Units)ของระบบSI คือหน่วยแสดงปริมาณความยาวซึ่งมีชื่อว่าเมตร มาประกอบเข้าด้วยกัน ก็จะเป็น ลูกบาศก์เมตร(cubic metre, m^3) เช่น ใช้น้ำประปาไป 12 ลูกบาศก์เมตร(หรือทางประปาเรียกว่าใช้ไป 12 หน่วย) เป็นต้น หน่วยย่อยลงไปที่ใช้มาก คือ ลูกบาศก์เซนติเมตร, ซม^3 หรือ ซี.ซี. (cubic centimetre, cm^3) เช่น เบียร์กระป๋องมีความจุขนาด 330 ซม^3 เป๊บซี่หรือโค้กขนาด 325 ซม^3 แชมพูขนาด 400 ซี.ซี. น้ำปลา 700 ซม^3 เป็นต้น
เส้น 28 ⟶ 29:
สำหรับการตวงวัดเหล้าในบาร์ ยังมีการใช้ถ้วยตวงที่มีขีดบอกปริมาตรเป็น ออนซ์(onze) ด้วย (ซึ่ง ออนซ์ มีที่ใช้ทั้งในแบบปริมาตรและแบบน้ำหนัก) และมีการใช้หน่วย ควอต(quart) ซึ่ง 1 ควอต = 32 ออนซ์ และ 1 แกลลอน = 4 ควอต
 
การตวงยา อาหาร และส่วนผสมในการทำอาหาร ยังอาจมีการใช้ หน่วย ช้อน ด้วย เช่น ให้รับประทานยาครั้งละ 1 ช้อนชา, 1 ช้อนโต๊ะ ซึ่ง 1 ช้อนโต๊ะ = 3 ช้อนชา
 
ในเรื่องการตวงเหล้า การตวงวัดในบาร์ การตวงวัดในเรื่องเกี่ยวกับการปรุงอาหาร ยังมีหน่วยอื่น ๆ บางอย่างด้วย เช่น ไพนท์ (Pint) เพค(Peck) บุเชล(Bushel) ถ้วยตวง(Cup) เป็นต้น และมีความสัมพันธ์กับหน่วยตวงอื่น ๆ เช่น 1 เพค = 8 ควอต 4 เพค = 1 บุเชล 1 ถ้วยตวง = 8 ออนซ์ เป็นต้น