ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร.png|thumb|300px|พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์ปัจจุบัน]]
[[ภาพ:พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรเดิม.png|thumb|right|230px|พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์เดิม]]
'''พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร''' ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นใน ตรงข้ามกับสระทางด้านตะวันออก ของ[[พระราชวังบางปะอิน]] พระที่นั่งองค์นี้สร้างด้วยไม้ สไตล์ยุโรป แบบสวิสชาเล่ต์ 2 ชั้น มีกำแพงแก้ว จดหมายเหตุได้กล่าวไว้ว่า[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานเงินสร้างพระที่นั่งองค์นี้ และ รั้วพระราชวังบางปะอิน 70 ชั่ง เมื่อวันที่ [[15 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2420]]<ref name="หนังสือ">สำนักพระราชวัง, พระราชวังบางปะอิน, พิมพ์ครั้งที่ 1, พ.ศ. 2548</ref> ทุกปีในฤดูฝน พระองค์จะเสด็จมาประทับที่พระที่นั่งองค์นี้ปีละ 3 ครั้ง<ref>[http://www.pea.co.th/peac1/webbangpa-in/palace.htm พระราชวังบางปะอิน] </ref>
 
'''พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร''' ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นใน ตรงข้ามกับสระทางด้านตะวันออก ของ[[พระราชวังบางปะอิน]] พระที่นั่งองค์นี้สร้างด้วยไม้ สไตล์ยุโรป แบบสวิสชาเล่ต์ 2 ชั้น มีกำแพงแก้ว จดหมายเหตุได้กล่าวไว้ว่า[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานเงินสร้างพระที่นั่งองค์นี้ และ รั้วพระราชวังบางปะอิน 70 ชั่ง เมื่อวันที่ [[15 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2420]]<ref name="หนังสือ">สำนักพระราชวัง, พระราชวังบางปะอิน, พิมพ์ครั้งที่ 1, พ.ศ. 2548</ref> ทุกปีในฤดูฝน พระองค์จะเสด็จมาประทับที่พระที่นั่งองค์นี้ปีละ 3 ครั้ง<ref>[http://www.pea.co.th/peac1/webbangpa-in/palace.htm พระราชวังบางปะอิน] </ref>
เมื่อปี [[พ.ศ. 2433]] [[สมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย|แกรนด์ดุ๊กซาร์วิตส์แห่งรัสเซีย]] (พระยศขณะนั้น) ได้เสด็จเยือนประเทศไทย พระบามสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้พระที่นั่งองค์นี้เป็นที่ประทับของแกรนด์ดุ๊กซาร์วิตส์ และในปี [[พ.ศ. 2452]] ยังใช้เป็นที่ประทับของดยุคโยฮัน อัลเบรตแห่งเยอรมันด้วย <ref name="หนังสือ"/>
 
ต่อมา [[พ.ศ. 2481]] ได้มีการซ่อมแซมใหญ่พระราชวังบางปะอิน แต่ผู้รับเหมาประมาทเลินเล่อ ทำให้เกิดไฟไหม้พระที่นั่งทั้งองค์ คงเหลือแต่หอยุโรปข้าง ๆ เท่านั้น หลังจากนั้น ในปี [[พ.ศ. 2537]] [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต สร้างพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรขึ้นใหม่ ปัจจุบัน พระที่นั่งองค์นี้ไม่เปิดให้เข้าชม
 
หลังจากนั้น ในปี [[พ.ศ. 2537]] [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต สร้างพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรขึ้นใหม่
 
== ประวัติ ==
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรขึ้นเมื่อวันที่ [[15 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2420]] โดยโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์เป็นผู้ออกแบบ<ref name="คิมหันต์อุทยาน">[http://www.sarakadee.com/feature/2003/03/bang-pa-in_palace.htm พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร อาลัยชาเลต์สวิส] </ref> โดยพระราชทานเงิน 70 ชั่ง หรือประมาณ 5,600 บาท ทุกปีในฤดูฝน พระองค์จะเสด็จมาประทับที่พระที่นั่งองค์นี้ปีละ 3 ครั้ง<ref>[http://www.pea.co.th/peac1/webbangpa-in/palace.htm พระราชวังบางปะอิน] </ref>
[[ภาพ:พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรเดิม.png|thumb|right|230px|พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์เดิม]]
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรขึ้นเมื่อวันที่ [[15 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2420]] โดยโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์เป็นผู้ออกแบบ<ref name="คิมหันต์อุทยาน">[http://www.sarakadee.com/feature/2003/03/bang-pa-in_palace.htm พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร อาลัยชาเลต์สวิส] </ref> โดยพระราชทานเงิน 70 ชั่ง หรือประมาณ 5,600 บาท
 
พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรเป็นพระที่นั่งเรือนไม้ 2 ชั้น มีสถาปัตยกรรมแบบชาเล่ย์ของ[[สวิตเซอร์แลนด์]] โดยทาสีเขียวอ่อนและสีขียวแก่สลับกันทั้งองค์ ประดับประดาไปด้วยลวดลายฉลุไม้แบบยุโรปที่แสนงดงาม มีระเบียงแล่นโดยรอบพระที่นั่ง ภายในมีการตกแต่งแบบยุโรปด้วยเครื่องเรือนฝรั่งเศสสมัย[[พระเจ้านโปเลียนที่ 3]] ที่เข้าชุดกันทั้งหมด พระที่นั่งองค์นี้ถือได้ว่าเป็นพระที่นั่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดปรานมากที่สุด<ref name="สนุก">[http://travel.sanook.com/bangkok/bangkok_06498.php พระราชวังบางปะอิน ตอน พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร ] </ref>
 
เมื่อปี [[พ.ศ. 2433]] [[สมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย|แกรนด์ดุ๊กซาร์วิตส์แห่งรัสเซีย]] (พระยศขณะนั้น) ได้เสด็จเยือนประเทศไทย พระบามสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้พระที่นั่งองค์นี้เป็นที่ประทับของแกรนด์ดุ๊กซาร์วิตส์ และในปี [[พ.ศ. 2452]] ยังใช้เป็นที่ประทับของดยุคโยฮัน อัลเบรตแห่งเยอรมันด้วย <ref name="หนังสือ"/>
 
ในวันที่ [[9 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2481]] ได้มีการบูรณะซ่อมแซมพระที่นั่งต่าง ๆ ในพระราชวังบางปะอิน ขณะดำเนินการทาสีพระที่นั่งนั้นได้เกิดเหตุเพลิงไหม้พระที่นั่งทั้งองค์ ซึ่งเหลือเพียงหอน้ำข้างพระที่นั่งเท่านั้นที่ไม่ถูกเพลิงไหม้ เมื่อปี [[พ.ศ. 2531]] สำนักพระราชวังจึงสร้างพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรขึ้นมาใหม่เลียนแบบพระที่นั่งองค์เดิม เพื่อใช้เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงภาพเขียนและวัตถุโบราณ<ref name="คิมหันต์อุทยาน"/>
 
จนกระทั่ง เมื่อปี [[พ.ศ. 2537]] สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] ให้จัดสร้างพระที่นั่งขึ้นใหม่ ขึ้นโดยใช้คอนกรีต แทนไม้ โดยทาสีขาวสลับเขียวตามแบบเดิมทั้งองค์พระที่นั่ง
ต่อมาได้มีการรื้อดัดแปลงสร้างใหม่อีกครั้งหนึ่งตามลักษณะที่ปรากฏในปัจจุบัน เพื่อใช้เป็นที่ประทับของ [[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] แห่ง[[สหราชอาณาจักร]]ในคราวเสด็จเยือนประเทศไทยเมื่อปี [[พ.ศ. 2539]] การดัดแปลงใหม่ครั้งนี้ได้ใช้ศิลปะสถาปัตยกรรมแบบ[[วิคตอเรียน]] ตัวอาคารเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้นกรุกระจกโดยรอบองค์พระที่นั่ง องค์พระที่นั่งทาสีม่วงชมพูอย่างงดงาม <ref name="หนังสือ"/> <ref name="สนุก"/>
 
ปัจจุบัน พระที่นั่งองค์นี้ใช้เป็นที่ประทับในการเสด็จพระราชดำเนินแปรพระราชฐาน ณ พระราชวังบางปะอิน และเป็นสถานที่รับรองพระราชอาคันตุกะ เป็นสถานที่เดียวใน[[พระราชวังบางปะอิน]]ที่ไม่เปิดให้เข้าชม