ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิจิตร เกตุแก้ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
เรียบเรียงใหม่หมด+เพิ่มภาพปกสยามกีฬา
บรรทัด 2:
[[ภาพ:Vijit Katekaew.JPEG|thumb|วิจิตร เกตุแก้ว ในงานแถลงข่าว การจ่ายเงินรางวัลและเงินบำรุงให้ทีมในไทยลีกที่ล่าช้า]]
 
'''ดาโต๊ะ วิจิตร เกตุแก้ว''' (เกิด [[21 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2481]]) เป็น อดีตนายก[[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] ในช่วงปี ([[พ.ศ. 2538]]-[[พ.ศ. 2550|2550]]) มีฉายาที่ได้รับจากสื่อมวลชนว่า "วีเจ" เป็นอดีต[[ข้าราชการ]][[กรมพลศึกษา]]
 
== ประวัติการศึกษา ==
ระหว่างนั้นในปี [[พ.ศ. 2548]] ได้ลงสมัครรับ[[เลือกตั้ง]] [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] เขตเลือกตั้งที่ 2 [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] ในนาม [[พรรคไทยรักไทย]] นายวิจิตร เริ่มต้นชีวิตในวงการฟุตบอล ด้วยการเป็น ผู้ตัดสินการแข่งขันฟุตบอล วิจิตรรู้จักในสื่อมวลชนในชื่อ "วีเจ" และเคยรับราชการที่กรมพละ และเคยเป็นอุปนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ก่อนเป็นนายกสมาคมฟุตบอล
นายวิจิตร เกตุแก้ว เกิดเมื่อ [[21 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2481]] ที่[[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]] สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี จาก ภาควิชาพลศึกษา [[คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะครุศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ในปี [[พ.ศ. 2518]] ต่อมาได้รับ[[ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์]]สาขาวิชาพลศึกษา จาก[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
 
ในปี [[พ.ศ. 2548]] ได้ลงสมัครรับ[[เลือกตั้ง]] [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] เขตเลือกตั้งที่ 2 [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] ในนาม [[พรรคไทยรักไทย]]
ในช่วงการดำรงตำแหน่งของวิจิตรนั้น[[ฟุตบอลทีมชาติไทย|ทีมชาติไทย]]ได้รับการจัด[[อันดับโลกฟีฟ่า]] มีอันดับสูงสุดและต่ำสุดในประวัติฟุตบอลไทย โดยสูงสุดที่อันดับ 43 ของโลก (ก.ย. 2541) และต่ำสุดที่ 137 ของโลก (ธ.ค. 2549)
 
=== เอเชียนเกมส์ 1982 ===
== ประวัติการศึกษา ==
[[ภาพ:Vj getout.jpg|thumb|ป้ายกลุ่มผู้ประท้วงเพื่อแสดงการป้ายขับไล่ นายวิจิตร เกตุแก้ว ออกจากตำแหน่ง นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ ระหว่างการแข่งขันฟุตบอลเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก]]
วิจิตร เกตุแก้ว เกิดเมื่อ [[21 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2481]] ที่[[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]] สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี จาก ภาควิชาพลศึกษา [[คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะครุศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ในปี 2518
 
เหตุการณ์ที่ทำให้นายวิจิตรเป็นที่รู้จักต่อสาธารณะครั้งแรก คือ การแข่งขันฟุตบอลชาย ในกีฬา[[เอเชียนเกมส์ 1982]] ([[พ.ศ. 2525]]) นายวิจิตร ซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้ตัดสิน การแข่งขันฟุตบอลชาย ระหว่าง [[ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ|ทีมชาติเกาหลีเหนือ]] กับ[[ฟุตบอลทีมชาติคูเวต|ทีมชาติคูเวต]] ได้ถูก เจ้าหน้าที่ทีม นักฟุตบอล และ แฟนฟุตบอล[[ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ]] รุมทำร้ายร่างกายอย่างหนัก ด้วยไม้ เก้าอี้ และพลาสติกแข็ง จนได้รับบาดเจ็บ ต้องเย็บแผลถึง 21 เข็ม ภายหลังการแข่งขัน สาเหตุเนื่องมาจาก นายวิจิตร ได้ตัดสินให้[[ลูกโทษที่จุดโทษ]] แก่ [[ฟุตบอลทีมชาติคูเวต|ทีมชาติคูเวต]] ก่อนหมดเวลา ทำให้ ทีมชาติคูเวต ชนะไป 3 ประตู ต่อ -2 โดยทาง ทีมชาติเกาหลีเหนือ กล่าวหาว่า นายวิจิตร รับ[[สินบน]]จาก ทีมชาติคูเวต ต่อมา [[สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย]] ได้ตัดสินให้ปรับ ทีมชาติเกาหลีเหนือ ให้ตกรอบ และ ห้ามเกี่ยวข้องกับวงการฟุตบอลเป็นเวลา 2 ปี โดยข่าวนี้ ถูก[[สำนักข่าวเอพี]]ได้จัดอันดับให้เป็น ข่าวอันดับ 8 จากหนึ่งใน 10 อันดับ ข่าวดังกีฬาโลก โดยในอันดับที่ [[สำนักข่าวเอพี]]8 ด้วย<ref>[http://www.siamfootball.com/php/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=201 ข่าวอันธพาลลูกหนัง 2525]</ref>
ต่อมาได้รับ[[ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์]]สาขาวิชาพลศึกษาจาก[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
 
=== ตำแหน่งดาโต๊ะในสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ===
หลังทำหน้าที่เป็นผู้ตัดสิน นายวิจิตรได้เข้ารับตำแหน่งเลขาธิการ สมาคมฟุตบอลฯอุปนายก เลขาธิการ และนายกสมาคมฯ ขึ้นเป็นตามลำดับ โดยในช่วงแรกที่รับตำแหน่งนายกสมาคมฯ ในเวลาต่อมา จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ นายวิจิตรยังได้ร่วมกับ" ''บิ๊กหอย" -[[ธวัชชัย สัจจกุล]]'' ผลักดัน[[ดรีมทีม|ทีมชาติไทยชุดดรีมทีม]] ที่มีชื่อเสียงและประสบความสำเร็จในอดีตยุคนั้น <ref>[http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=4747 สมาคมฟุตบอล ถึงทางสามแพร่ง สำหรับวิจิตร เกตุแก้ว] โดย สันทิฎฐ์ สมานฉันท์ จากนิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2539</ref> และในปี [[พ.ศ. 2545]] นายกนายวิจิตร เกตุแก้วได้ร่วมกับ ''บังยี-[[วรวีย์วรวีร์ มะกูดี]]'' เสนองบให้สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยงบประมาณแก่สมาคมฯ และ[[ฟีฟ่า]]บริจาคที่ดินร่วมด้วย เป็นจำนวน 20 ไร่ เพื่อสร้าง[[ศูนย์ฝึกฟุตบอลแห่งชาติ]] ซึ่งเป็นที่เก็บตัวนักฟุตบอลทีมชาติไทย 12 ชุด อย่างเป็นทางการ ขึ้เป็น[[ที่สุดในประเทศไทย|แห่งแรกในประเทศไทย ]]<ref>[http://www.fat.or.th/inter_training.asp ศูนย์ฝึกฟุตบอลแห่งชาติ]</ref>
วันที่ 25 ตุลาคม 2542 นายวิจิตร เกตุแก้ว นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานเข็มและสายสะพายตำแหน่ง ดาโต๊ะ จากสุลต่าน [[อาหมัด ชาห์]] กษัตริย์แห่งรัฐ[[ปะหัง]] ซึ่งมีตำแหน่งเป็นประธาน[[สมาพันธ์ฟุตบอลอาเชียน]](เอเอฟเอฟ) และนายกสมาคมฟุตบอลแห่งมาเลเซีย ซึ่งเป็นความภูมิใจแห่งวงการฟุตบอลไทยอย่างแท้จริง เพราะเป็นรางวัลที่ได้รับพระราชทานโดยกษัตริย์ต่างประเทศ ซึ่งมีคนไทยเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่ได้รับพระมหากรุณาอันทรงเกียรติจากกษัตริย์ต่างประเทศเช่นนี้ นับได้ว่า ดร ดาโต๊ะ วิจิตร เกตุแก้ว คือผู้สร้างชื่อเสียงระดับโลกให้ต่างชาติเป็นที่ยอมรับและรู้จักของคนทั่วโลกอีกด้วยอีกด้วย {{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} โดยพระราชทานกันที่ ดิ ลาเลรัง เสรี , อิสตาน่า อาบู บาการ์ , เปกัน , ปะหัง ดารุล มากมูร์ ในรัฐปะหัง ประเทศมาเลเซีย ซึ่ง วิจิตร เกตุแก้ว เป็นบุคคลที่ 3 ที่ได้ตำแหน่งดาโต๊ะ พระราชทาน ต่อจาก [[ดร โจอัว ฮาเวล้านจ์]] อดีตประธานฟีฟ่า และ [[เซปป์ แบล๊ตเตอร์]] โดยนายกวิจิตร ได้กล่าวหลังรับตำแหน่งว่า "ตลอดเวลา 30 กว่าปีที่ผมอยู่กับวงการฟุตบอลมา มีหลายเรื่องที่ผมโดนกลั่นแกล้ง โดนปรักปรำ โดนใส่ร้าย ใส่ความมาตลอด ซึ่งผมไม่เคยปริปากเอ่ยให้ใครฟัง มาวันนี้ สวรรค์มีตา หากผมเป็นคนไม่ดีจริง คงไม่มีใครมอบรางวัลที่มีเกียรติอย่างดาโต๊ะให้หรอก"
 
ทั้งนี้ ในช่วงวาระการดำรงตำแหน่งของนายวิจิตรนั้น [[ฟุตบอลทีมชาติไทย|ทีมชาติไทย]]ได้รับการจัด[[อันดับโลกฟีฟ่า]] มีอันดับสูงสุดและต่ำสุดในประวัติฟุตบอลไทย โดยสูงสุดที่อันดับ 43 ของโลก (ก.ย. 2541) และต่ำสุดที่ 137 ของโลก (ธ.ค. 2549)
== เอเชียนเกมส์ 1982 ==
 
ในช่วงหลังเมื่อวันที่ผ่านมาได้มีการเคลื่อนไหวเพื่อขับไล่นายวิจิตรมีการแสดงป้ายผ้า สวมเสื้อที่สกรีนข้อความขับไล่[[11 รวมถึงการตะโกนประท้วงตุลาคม]] โดย[[พ.ศ. 2546]] มีกลุ่มกองเชียร์ผู้สนับสนุนฟุตบอลทีมชาติไทย จำนวน 15 คน นำโดย นาย[[พินิจ งามพริ้ง]] ประธานชมรม[[เชียร์ไทยดอตคอม]] แสดงป้ายผ้า สวมเสื้อที่สกรีนข้อความขับไล่ รวมถึงการตะโกนประท้วงบน[[อัฒจันทร์]] [[สนามราชมังคลากีฬาสถาน]] ในระหว่างการแข่งขันฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศ [[เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก]] นัดชิงชนะเลิศ ระหว่าง[[สโมสรฟุตบอลบีอีซีเทโร ศาสน]]ของไทย กับ สโมสรจาก[[สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ที่[[สนามราชมังคลากีฬาสถาน]] เมื่อวันที่ [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2546]]เพื่อขับไล่นายวิจิตร แต่ทุกเหตุการณ์ก็จบลงด้วยดี โดยกลุ่มผู้ชุมนุมได้ให้สัมภาษณ์ขอโทษต่อนายวิจิตรผ่าน[[หนังสือพิมพ์]] เกตุแก้ว และพร้อมให้เหตุผลในการสัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์ประท้วงว่า "คุณวิจิตร เป็นผู้ใหญ่แล้ว การกระทำเพื่อการขับไล่นายวิจิตรนั้น ทำให้คุณวิจิตรเสียชื่อเสียง" ซึ่งนายวิจิตร เกตุแก้ว ก็ไม่ได้เอาเรื่องหรือดำเนินคดีใดๆกับผู้ประท้วงแต่อย่างใด และแกนนำยังได้ให้สัญญาว่าจะไม่ยอมให้มีการประท้วงขับไล่นายกสมาคมฟุตบอลสมาคมฯ อีก และนับตั้งแต่นั้นมาซึ่งนายวิจิตรก็ไม่มีเหตุการณ์มิได้ติดใจเอาความกับกลุ่มผู้ประท้วงนายกสมาคมฟุตบอลจนถึงปัจจุบันแต่อย่างใด
เหตุการณ์ที่ทำให้นายวิจิตรเป็นที่รู้จักต่อสาธารณะครั้งแรก คือ การแข่งขันฟุตบอลชาย ในกีฬา[[เอเชียนเกมส์ 1982]] ([[พ.ศ. 2525]]) นายวิจิตร ได้ถูก เจ้าหน้าที่ทีม นักฟุตบอล และ แฟน[[ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ]] รุมทำร้ายร่างกายอย่างหนัก ด้วยไม้ เก้าอี้ และพลาสติกแข็ง จนได้รับบาดเจ็บ ต้องเย็บแผลถึง 21 เข็ม ภายหลังการแข่งขัน สาเหตุเนื่องมาจาก นายวิจิตร ได้ตัดสินให้[[ลูกโทษที่จุดโทษ]] แก่ [[ฟุตบอลทีมชาติคูเวต|ทีมชาติคูเวต]] ก่อนหมดเวลา ทำให้ ทีมชาติคูเวต ชนะไป 3 ประตู ต่อ 2 โดยทาง ทีมชาติเกาหลีเหนือ กล่าวหาว่า นายวิจิตร รับสินบนจาก ทีมชาติคูเวต ต่อมา [[สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย]] ได้ตัดสินให้ปรับ ทีมชาติเกาหลีเหนือ ตกรอบ และ ห้ามเกี่ยวข้องกับวงการฟุตบอล 2 ปี โดยข่าวนี้ ถูกจัดให้เป็น ข่าวอันดับ 8 จาก 10 อันดับ ข่าวดังกีฬาโลก โดย [[สำนักข่าวเอพี]] ด้วย<ref>[http://www.siamfootball.com/php/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=201 ข่าวอันธพาลลูกหนัง 2525]</ref>
 
== ตำแหน่งในสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ==
หลังทำหน้าที่เป็นผู้ตัดสิน นายวิจิตรได้เข้ารับตำแหน่งเลขาธิการ สมาคมฟุตบอลฯ และ ขึ้นเป็น นายกสมาคมฯ ในเวลาต่อมา จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ วิจิตรร่วมกับ"บิ๊กหอย" [[ธวัชชัย สัจจกุล]]ผลักดัน[[ดรีมทีม|ทีมชาติไทยชุดดรีมทีม]] ที่มีชื่อเสียงและประสบความสำเร็จในอดีต <ref>[http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=4747 สมาคมฟุตบอล ถึงทางสามแพร่ง สำหรับวิจิตร เกตุแก้ว] โดย สันทิฎฐ์ สมานฉันท์ จากนิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2539</ref> และในปีพ.ศ. 2545 นายกวิจิตร เกตุแก้วร่วมกับ[[วรวีย์ มะกูดี]] เสนองบให้สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยและ[[ฟีฟ่า]]บริจาคที่ดินจำนวน 20 ไร่ เพื่อสร้าง[[ศูนย์ฝึกฟุตบอลแห่งชาติ]] ซึ่งเป็นที่เก็บตัวนักฟุตบอลทีมชาติไทย 12 ชุด อย่างเป็นทางการแห่งแรกในประเทศไทย <ref>[http://www.fat.or.th/inter_training.asp ศูนย์ฝึกฟุตบอลแห่งชาติ]</ref>
 
[[ภาพ:Vj getout.jpg|thumb|ป้ายกลุ่มผู้ประท้วงเพื่อแสดงการขับไล่ นายวิจิตร เกตุแก้ว ออกจากตำแหน่ง นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ ระหว่างการแข่งขันฟุตบอลเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก]]
 
ในช่วงหลังที่ผ่านมาได้มีการเคลื่อนไหวเพื่อขับไล่นายวิจิตรมีการแสดงป้ายผ้า สวมเสื้อที่สกรีนข้อความขับไล่ รวมถึงการตะโกนประท้วง โดย กลุ่มกองเชียร์ทีมชาติไทยจำนวน 15 คน นำโดย [[พินิจ งามพริ้ง]]ประธานชมรมเชียร์ไทยดอตคอม ในการแข่งขันฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศ [[เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก]] ระหว่างสโมสรบีอีซีเทโร ของไทยกับ สโมสรจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ที่[[สนามราชมังคลากีฬาสถาน]] เมื่อวันที่ [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2546]] แต่ทุกเหตุการณ์ก็จบลงด้วยดี โดยกลุ่มผู้ชุมนุมได้ขอโทษต่อนายวิจิตร เกตุแก้ว และให้เหตุผลในการสัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์ว่า "คุณวิจิตร เป็นผู้ใหญ่แล้ว การกระทำเพื่อการขับไล่นายวิจิตรนั้น ทำให้คุณวิจิตรเสียชื่อเสียง" ซึ่งนายวิจิตร เกตุแก้ว ก็ไม่ได้เอาเรื่องหรือดำเนินคดีใดๆกับผู้ประท้วงแต่อย่างใด และแกนนำยังได้สัญญาว่าจะไม่ให้มีการประท้วงขับไล่นายกสมาคมฟุตบอลอีก และนับตั้งแต่นั้นมาก็ไม่มีเหตุการณ์ประท้วงนายกสมาคมฟุตบอลจนถึงปัจจุบัน
<ref>[http://www.manager.co.th/sport/ViewNews.aspx?NewsID=2000000040985 พินิจ งามพริ้ง ชายผู้กล้าท้าทายสมาคมฟุตบอลฯ (ผู้จัดการ)]</ref>
<ref>[http://www.bbznet.com/scripts/view.php?user=cheerthai&board=1&id=154&c=1&order= "วีเจ" จูบปากเชียร์ไทยดอตคอม (คมชัดลึก)]</ref>
<ref>[http://www.bbznet.com/scripts/view.php?user=cheerthai&board=1&id=152 ยุติโค่นเก้าอี้"วีเจ" เว็บฯดังยอมขอโทษย้ำไม่มีเบื้องหลัง (แนวหน้า)]</ref>
<ref>[http://www.bbznet.com/scripts/view.php?user=cheerthai&board=1&id=147 ข้อเท็จจริงจากใจ พินิจ งามพริ้ง ]</ref>
 
[[ภาพ:SiamSport_Cover.jpg|thumb|[[หนังสือพิมพ์]][[สยามกีฬารายวัน]] เสนอข่าวนายวิจิตรลาออกจากนายกสมาคมฟุตบอลฯ]]
 
ในเรื่องปี [[พ.ศ. 2549]] มีการตั้งข้อสงสัยถึงตัวเลข[[งบดุล]]ของสมาคมฯ ที่มีข้อกังขานั้นปัญหา โดยเฉพาะสโมสรที่ชนะเลิศ การแข่งขันฟุตบอล[[ไทยลีก ดิวิชัน 1]] ยังไม่ได้รับเงินรางวัลจำนวน 2,500,000 บาท และอีกหลายสโมสรก็ยังไม่ได้รับเงินบำรุงทีม นายวิจิตร ได้ชี้แจงสรุปงบดุลของและนายวรวีร์ ในฐานะเลขาธิการสมาคมฯ จึงเปิดแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน เพื่อชี้แจงรายรับรายจ่ายประจำปี ซึ่งปรากฏว่า สมาคมฟุตบอลสมาคมฯ มีรายรับสูงกว่ารายจ่ายประมาณ 1,166,765.43 บาท พร้อมกันนี้ให้เหตุผลว่า สาเหตุที่มีการเบิกจ่ายล่าช้า เนื่องจากเกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การรัฐประหาร 19 กันยายน]] โอกาสดังกล่าว สมาคมฯ ยังได้แต่งตั้ง ให้[[ประชา ธรรมโชติ|พันตรี ประชา ธรรมโชติ]] เป็นผู้ตรวจสอบบัญชีอีกวาระหนึ่ง ต่อไป<ref>[http://www.bkkfc.com/vjgetout.php งานเลือกตั้งนายกสมาคมฟุตบอลประจำปี 2549 : สรุปงบดุลฟันกำไร 1 ล้านบาท]</ref><ref>[http://www.manager.co.th/Sport/ViewNews.aspx?NewsID=9490000124099 งามหน้า!!สมาคมฯ เงียบกริบเงินรางวัลไทยลีกล่องหน] ข่าวจาก [[หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ]]</ref>
 
=== ตำแหน่งดาโต๊ะ ===
เมื่อปี [[พ.ศ. 2549]] ทางสมาคมฟุตบอลมีปัญหาเกี่ยวกับ เงินรางวัลและเงินบำรุงที่จะต้องมอบให้ทีมที่ร่วม การแข่งขันฟุตบอล[[ไทยลีก ดิวิชัน 1]] โดยสโมสรที่ชนะเลิศไม่ได้รับเงินรางวัลซึ่งเป็นจำนวนเงิน 2.5 ล้านบาท และยังมีหลายสโมสรที่ไม่ได้เงินบำรุง โดยวิจิตรในฐานะนายกสมาคม และ วรวีร์ในฐานะเลขาธิการสมาคม ได้อภิปรายต่อสื่อมวลชนพร้อมเชิญ 12 ทีมมารับฟัง โดยให้เหตุผลว่ามีการเบิกจ่ายล่าช่าเนื่องจาก[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|เหตุการณ์รัฐประหาร 2549]] <ref>[http://www.manager.co.th/Sport/ViewNews.aspx?NewsID=9490000124099 งามหน้า!!สมาคมฯ เงียบกริบเงินรางวัลไทยลีกล่องหน] ข่าวจาก [[หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ]]</ref>
เมื่อวันที่ [[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2542]] นายวิจิตร เกตุแก้ว นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานเข็มและสายสะพายตำแหน่ง ดาโต๊ะ จาก[[สุลต่าน ]][[อาหมัด ชาห์]] กษัตริย์แห่งรัฐ[[รัฐปะหัง]] ซึ่งมีตำแหน่งเป็น[[ประเทศมาเลเซีย]] ประธาน[[สมาพันธ์ฟุตบอลอาเชียน]](เอเอฟเอฟ) และนายก[[สมาคมฟุตบอลแห่งมาเลเซีย]] ซึ่งเป็นความภูมิใจแห่งวงการฟุตบอลไทยอย่างแท้จริงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เพราะเป็นรางวัลที่ได้รับพระราชทานโดยกษัตริย์ต่างประเทศเข็ม ซึ่งมีคนไทยเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่ได้รับพระมหากรุณาอันทรงเกียรติจากกษัตริย์ต่างประเทศเช่นนี้ นับได้ว่า ดรและสายสะพาย ตำแหน่ง''ดาโต๊ะ'' แก่นายวิจิตร เกตุแก้วโดยพิธีดังกล่าว คือผู้สร้างชื่อเสียงระดับโลกให้ต่างชาติเป็นที่ยอมรับและรู้จักของคนทั่วโลกอีกด้วยอีกด้วย {{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} โดยพระราชทานกันจัดขึ้นที่ ดิ ลาเลรัง เสรี , อิสตาน่า อาบู บาการ์ , เปกัน , ปะหัง ดารุล มากมูร์ ในรัฐปะหัง ประเทศมาเลเซีย ซึ่ง นายวิจิตร เกตุแก้ว เป็นบุคคลที่ 3 ที่ได้รับพระราชทานตำแหน่งดาโต๊ะ พระราชทาน ต่อจาก ดร.[[ดร โจอัว ฮาเวล้านจ์เวลานจ์]] อดีตประธานฟีฟ่า และ [[เซปป์ แบล๊ตเตอร์]] ประธานฟีฟ่าคนปัจจุบัน โดยนายกนายวิจิตร ได้กล่าวให้สัมภาษณ์หลังรับพระราชทานตำแหน่งดาโต๊ะว่า "ตลอดเวลา 30 กว่าปี ที่ผมอยู่กับวงการฟุตบอลมา มีหลายเรื่องที่ผมโดนกลั่นแกล้ง โดนปรักปรำ โดนใส่ร้าย ใส่ความมาตลอด ซึ่งผมไม่เคยปริปากเอ่ยให้ใครฟัง มาวันนี้ สวรรค์มีตา หากผมเป็นคนไม่ดีจริง คงไม่มีใครมอบรางวัลที่มีเกียรติอย่างดาโต๊ะให้หรอก"{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
=== ลาออกจากนายกสมาคมฟุตบอลฯ ===
เมื่อวันที่ [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2550]] [[ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์|นายชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์]] ให้สัมภาษณ์ว่า ตนได้[[โทรศัพท์]]ถึงสอบถามนายวิจิตร เพื่อสอบถามถึงกรณีที่มีข่าวว่า นายวิจิตรได้ยื่นใบลาออกจากการเป็นนายกสมาคมฟุตบอลฯ แล้ว ซึ่งนายวิจิตรตอบตนว่า เป็นความจริง โดยให้เหตุผลว่า ตนไม่สามารถพัฒนาผลงานของสมาคมฯ ได้มากไปกว่านี้อีกแล้ว จึงเปิดโอกาสให้สมาคมฯ ได้เฟ้นหานายกสมาคมฯ คนใหม่ เพื่อมาช่วยพัฒนาสมาคมฯ ให้ดียิ่งขึ้นไปกว่าที่ตนได้ทำไว้
 
== อ้างอิง ==