ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าจอมน้อม ในรัชกาลที่ 5"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ธนูเทพ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38:
การศึกษาขั้นต้น ท่านได้รับจากมารดา จนโตพอสมควรจึงเรียนจากครูหนอ
และ พระศรีสัตยารักษ์ ต่อมาเมื่ออายุ 7-8 ขวบ มารดาท่านถึงอนิจกรรม
ท่านผู้หญิงสุ่น โชฎึกราชเศรษฐี ผู้เป็นย่าของท่าน รับเลี้ยงดูต่อมา ในช่วงนี้ท่านยังได้หัดสวดมนต์และนั่งวิปัสนา ตามท่านผู้หญิงด้วย
 
เจ้าจอมน้อมได้ถวายตัวรับราชการฝ่ายใน ภายหลังโกนจุก เมื่ออายุ 13 ปี ในสำนักของ [[พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมขุนสุทธาสินีนาฏ|พระวิมาดาเธอฯ กรมพระสุทธาสินีนาฎ]] จนได้รับพระมหากรุณาเป็นเจ้าจอม ท่านเป็นผู้มีบุคลิกกิริยา
น่านับถือ กิริยาท่าทีสง่างาม อุปนิสัยเยือกเย็นหนักแน่น จนเป็นที่เกรงใจของคนทั่วไป แม้เจ้านายบางพระองค์ยังมีรับสั่งว่า
 
บรรทัด 53:
ท่านทำได้ดีแทบทุกอย่าง การจัดโต๊ะพระราชทานเลี้ยงรับรองแขกเมือง รวม
ทั้งอาหารเช่น การจัดข้าวเหนียวสีและหน้าต่างๆ ท่านต้องมีส่วนช่วยหรือจัดทำ
แทบทุกครั้ง เพราะท่านเป็นคนละเอียดลออปราณีต นอกจากนี้ยังเชี่ยวชาญในเรื่องเกี่ยวกับการจัดงานพระศพเจ้านาย เป็นการแบ่งเบาพระภาระของพระวิมาดาเธอฯเป็นอันมาก
 
เมื่อสิ้นรัชกาลที่ 5 ท่านจึงกราบถวายบังคมลาออกมาอยู่กับท่านบิดาที่บ้าน ปรนนิบัติท่านบิดา จนถึงอนิจกรรม เมื่อ พ.ศ. 2490 หลัง
จากนั้นจนตลอดชีวิต ก็ได้ทำบุญสุนทานตลอดเวลา แม้เงินที่ได้รับพระราชทานตลอดชีพนั้นก็ได้นำไปบริจาคเสมอ งานสำคัญที่ท่านได้รับพระมหากรุณาฉลองพระเดชพระคุณประจำสกุลโชติกเสถียร คือการถวายเครื่องสังเวยพระป้าย ประจำปีตรุษจีน ครั้งสุดท้ายก่อนอนิจกรรม คือ บูรณะวัดนรนาถสุนทริการาม ซึ่งเป็นวัดประจำตระกูลโชติกเสถียร
จากนั้นจนตลอดชีวิต ก็ได้ทำบุญสุนทาน
 
ตลอดเวลา งานสำคัญที่ท่านได้รับพระมหากรุณาฉลองพระเดชพระคุณประจำ
โชติกเสถียร ท่านเจ้าจอมน้อม ได้รับพระราชทาน[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์]]สูงสุด
สกุลโชติกเสถียร คือการถวายเครื่องสังเวยพระป้าย ประจำปีตรุษจีน ครั้งสุดท้ายก่อนอนิจกรรม คือ บูรณะวัดนรนาถสุนทริการาม ซึ่งเป็นวัดประจำตระกูล
โชติกเสถียร ท่านเจ้าจอมน้อม ได้รับพระราชทาน[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์]]สูงสุด
คือ ตติยจุลจอมเกล้า เมื่อปี พ.ศ. 2444 กับทั้งเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 5 ชั้นที่ 2
เหรียญทวีธาภิเษก, เหรียญรัชมังคลาภิเษก และหีบหมากทองคำลายกนกเป็น
เกียรติยศ

เจ้าจอมน้อม ถึงอนิจกรรม ในวันที่ [[14 มกราคม]] [[พ.ศ. 2509]] ศพได้รับพระราชทานเพลิง ณ เมรุวัดธาตุทอง
 
==อ้างอิง==
*ตำราทำกับข้าวฝรั่ง พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ 5: ( พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ เจ้าจอมน้อม ในรัชกาลที่ 5 ณ เมรุวัดธาตุทอง 6 มีนาคม 2509 )
<references />