ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดออกซาลิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พ.น.บุญรอด (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
'''กรดออกซาลิก''' ({{lang-en|Oxalic Acid}}) กรดออกซาลิกเป็นสารประกอบอินทรีย์ซึ่งมีสูตรโมเลกุล H<sub>2</sub>C<sub>2</sub>O<sub>4</sub> และมีความเป็นกรดสูงกว่ากรดน้ำส้ม (acetic{{lang-en|Acetic acidAcid}}) 10000 เท่า เมื่ออยู่ในรูปของประจุจะเรียกว่า ออกซาเลต (oxalate) ซึ่งเป็นตัวรีดิวส์ ที่ดีเหมือนกับหมู่ลิแกนด์ ligand ในสารประกอบเชิงซ้อน โลหะไอออนจะไม่ละลายน้ำเมื่อรวมกับออกซาเลต (oxalate{{lang-en|Oxalate}}) เช่น calciumแคลเซียมออกซาเสต oxalate({{lang-en|Calcium Oxalate}}) ซึ่งเป็นนิ่วที่พบในไต
กรดออกซาลิก (Oxalic acid)
กรดออกซาลิกเป็นสารประกอบอินทรีย์ซึ่งมีสูตรโมเลกุล H2C2O4 และมีความเป็นกรดสูงกว่ากรดน้ำส้ม (acetic acid) 10000 เท่า เมื่ออยู่ในรูปของประจุจะเรียกว่า ออกซาเลต (oxalate) ซึ่งเป็นตัวรีดิวส์ ที่ดีเหมือนกับหมู่ลิแกนด์ ligand ในสารประกอบเชิงซ้อน โลหะไอออนจะไม่ละลายน้ำเมื่อรวมกับออกซาเลต (oxalate) เช่น calcium oxalate ซึ่งเป็นนิ่วที่พบในไต
กรดออกซาลิกมีมวลโมเลกุล 90.03 g/mol (anhydrous) ความหนาแน่น 1.90 g/cm³ (dehydrate) จุดหลอมเหลว 101-102 °C (dehydrate) กรดออกซาลิกสามารถเตรียมได้จากการออกซิไดซ์น้ำตาลกลูโคสด้วยกรดไนตริก โดยมี vanadium pentoxide เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา หรือในระดับอุตสาหกรรมที่ต้องการผลิตในปริมาณที่มากจะใช้ sodium hydroxide ที่ร้อนดูดรับก๊าซ CO ภายใต้ความดันสูงซึ่งจะได้ sodium oxalate เป็นผลิตภัณฑ์
กรดออกซาลิกจะทำปฏิกิริยาให้สารประกอบ carboxylic acid อื่นๆเช่น สารประกอบ ester (dimethyloxalate) , สารประกอบ acid chloride (oxalyl chloride) เป็นต้น ออกซาเลต (oxalate) ซึ่งเป็นคู่เบส (conjugate base) ของกรดออกซาลิก ยังเป็นลิแกนด์ที่ดีในการเกิดสารประกอบเชิงซ้อน โดยมีลักษณะเป็น bidentate ligand ซึ่งจะให้ 2 อิเล็กตรอนและจับกลุ่มเป็นวง 5 เหลี่ยม (MO2C2) เช่น potassium ferrioxalate, K3[Fe(C2O4)3] หรือเป็นยา Oxaliplatin โดยมีโลหะอะตอมกลางเป็นพลาตินัม ใช้ในทางเคมีบำบัดให้กับผู้ป่วยโรคมะเร็ง
กรดออกซาลิกจะพบมากในพืช เช่น พืชตระกูล Sorrel ในกลุ่ม Oxalis หรือที่รู้จักกันคือ ส้มกบ หรือหญ้าเกล็ดหอยจีน