ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรรมฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
 
==กรรมฐาน 40==
'''กรรมฐาน 40''' เป็นสิ่งอุบาย40วิธีที่ใช้ฝึกจิตให้เกิดสมาธิ ก็คือสิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด เพื่อชักนำให้เกิดสมาธิ พอจิตกำหนดจับสิ่งนี้เข้าแล้ว จะชักนำให้จิตแน่วแน่อยู่กับสิ่งนี้ จนเป็นสมาธิได้มั่นคงและเร็วที่สุด ในคัมภีร์[[อรรถกถา]]และปกรณ์ ได้รวบรวมแสดงกรรมฐานไว้ 40 อย่าง คือ
*'''[[กสิณ]] 10''' แปลว่า วัตถุอันจูงใจ หรือวัตถุสำหรับเพ่ง เพื่อจูงจิตให้เป็นสมาธิ<br>เป็นวิธีใช้วัตถุภายนอกเข้าช่วย โดยวิธีเพ่งเพื่อรวมจิตให้เป็นหนึ่ง มี 10 อย่าง คือ
:*''ก.ภูตกสิณ 4 (กสิณคือมหาภูตรูป)'' ได้แก่ ปฐวีกสิณ อาโปกสิณ เตโชกสิณ วาโยกสิณ
บรรทัด 19:
!
|-
|ปฐวีกสิณ/||-||ปฐวีธาตุคืออาการที่เป็นลักษณะของแข็งทั้งปวง(ไม่ใช่เฉพาะดิน)กำหนดรู้สภาวะแห่งปฐวีธาตุคือ
|ปฐวีกสิณ||-||กสิณคือดิน กสิณที่ใช้ดินเป็นอารมณ์
-รูปร่างคงตัว รูปทรง3มิติ น้ำหนักมาก อณูหยาบ มีสภาพแข็ง เป็นต้น เป็นอารมณ์
|
|-
|อาโปกสิณ||-||คือ กำหนดรู้ ลักษณะเฉพาะของอาโปธาตุ มีความเหลว ความข้น มีน้ำหนัก มี3มิติ มีสภาพไหลไม่นิ่งไม่ทรงตัว มีความชุ่มเย็น มีอณูเล็กและละเอียดกว่าปฐวีธาตุ
|อาโปกสิณ||-||กสิณน้ำคือ กสิณที่ใช้น้ำเป็นอารมณ์
|
|-
|เตโชกสิณ||-||คือกำหนดรู้สภาวะเฉพาะแห่งเตโชธาตุ คือ ความพุ่งพล่าง ลุกโชน อณูละเอียดกกว่าอาโปธาตุ มีความร้อนมี น้ำหนักน้อย มีแสงหรือไม่ก็ได้ มีความโปร่งแสงไม่ใส เป็นต้น
|เตโชกสิณ||-||กสิณคือไฟ กสิณที่ใช้ไฟเป็นอารมณ์
|
|-
|วาโยกสิณ||-||คือการกำหนดรู้จดจำลักษณะแห่งวาโยธาตุ|คือ ความมีอณูละเอียดมากกว่าเตโชธาตุ มีการไหลถ่ายเทอิสระ แทบไม่มีน้ำหนักมีความชุ่มเย็นแต่น้อยกว่าอาโปธาตุ มีความโป่งใส สัมผัสได้บางเบาเป็นต้น
|วาโยกสิณ||-||กสิณคือลม กสิณที่ใช้ลมเป็นอารมณ์
|
|-
|นีลกสิณ||-||กสิณคือสีสภาวะทีมีความมืดทึบ คลื้ม เขียว กสิณที่ใช้ไม่สว่างของสีเขียวเป็นอารมณ์สัน
|
|-
|ปีตกสิณ||-||กสิณคือสีเหลือง กสิณสภาวะที่ใช้มีความเรืองรองของสีเหลืองเป็นอารมณ์สัน
|
|-
|โลหิตกสิณ||-||กสิณคือสีแดง กสิณที่ใช้สีแดงเป็นอารมณ์