ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Ps (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ระบอบการปกครอง}}
 
'''ประชาธิปไตยแบบตัวแทน''' ({{lang-en|Representative Democracy}}) โดยทั่วไปมักเรียกว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของระบอบประชาธิปไตยที่มีลักษณะตรงข้ามกับ[[ประชาธิปไตยแบบทางตรง]] หรือเป็นประชาธิปไตยแบบทางอ้อม ({{lang-en|Indirect Democracy}})
 
ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน เป็นระบอบการเมืองที่ให้ประชาชนเลือกผู้แทนของตนเข้าไปบริหารและตัดสินใจแทนตน เป็นระบอบการปกครองที่ประชาชนมอบ[[อำนาจอธิปไตย]]ให้ผู้แทนที่เขาเลือกตั้งเข้าไปตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งของรัฐ เป็นผู้ใช้อำนาจดังกล่าวแทน โดยมีระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งที่แน่นอน เช่น ตาม[[รัฐธรรมนูญ]]แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กำหนดวาระในการดำรงตำแหน่ง 4 ปี สำหรับ[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]และ 6 ปี สำหรับ[[สมาชิกวุฒิสภา]]
 
ในประเทศประชาธิปไตยส่วนใหญ่ที่ได้ยึดถือหลักการแบ่งแยก[[อำนาจอธิปไตย]]ออกเป็น 3 ฝ่ายคือ
# อำนาจนิติบัญญัติ
# อำนาจบริหาร
# อำนาจตุลาการ
 
[[การเลือกตั้ง]]ผู้แทนมักใช้เพื่ออำนาจในสองประการแรก คืออำนาจนิติบัญญัติและอำนาจบริหาร เช่นตัวอย่างประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ประชาธิปไตยแบบตัวแทนดังกล่าวนี้ มีปัญหาพื้นฐานพอที่จะกล่าวถึงได้ใน 2 ประการประกอบด้วย
อย่างไรก็ตาม ประชาธิปไตยแบบตัวแทนดังกล่าวนี้ มีปัญหาพื้นฐานพอที่จะกล่าวถึงได้ใน 2 ประการประกอบด้วย
 
# ปัญหาความเป็นตัวแทนของผู้แทนราษฎรที่อาจจะไม่ได้สะท้อนความต้องการที่แท้จริงของประชาชน เนื่องจากการเบี่ยงเบนผล[[การเลือกตั้ง]]หรือด้วยวิธีการอื่นเช่น การซื้อเสียง การโกงการเลือกตั้ง ({{lang-en|election fraud}}) ประการหนึ่ง
# ปัญหาความโน้มเอียงที่ผู้แทนราษฎรจะตัดสินใจประการใดประการหนึ่ง โดยเฉพาะในกระบวนการทางนิติบัญญัติ ที่จะเป็นการเอื้อต่อกลุ่[[มผลประโยชน์]] และหลายกรณีที่ผลการตัดสินใจนั้นบังเกิดผลเสียหายแก่ชุมชนท้องถิ่น ซึ่งก็เป็นผลสืบเนื่องจากการการขาดความสำนึกเกี่ยวกับการเป็นตัวแทนของปวงชน อันเป็นปัญหาในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมเฉพาะตัวของผู้แทนด้วยประการหนึ่ง
 
[[หมวดหมู่:ระบอบการปกครอง]]