ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูปัส อีริทีมาโตซัส ทั่วร่าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Doraeminmon (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17:
 
== สาเหตุ ==
* '''[[ยีน]]''' จากการศึกษาพบว่ามียีนบางตัวที่ก่อให้เกิดโรคนี้โดยตรง หรือมียีนบางลักษณะเมื่อเกิดปฏิกิริยากับปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมบางอย่างจะก่อให้เกิดโรคนี้
สาเหตุที่ทำให้​เกิดโรคเอสแอลอี​คือ​กรรมพันธุ์ [[ฮอร์โมน]]เพศหญิง ภาวะติดเชื้อโรคบางชนิด​เช่น​เชื้อ[[ไวรัส]]บางอย่าง​
* '''ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม''' เช่นคนไข้[[โรคหัวใจ]]บางรายที่กินยา Procainamide หรือคนไข้[[ความดันโลหิตสูง]]บางรายที่กินยา Hydralazine ก็มีอาการของโรคเอสแอลอี แต่เมื่อหยุดยาโรคก็หายไป นอกจากนี้[[ฮอร์โมน]]เพศหญิง ทำให้ผู้ป่วยบางรายมีอาการของโรคเอสแอลอีช่วงก่อนมี[[ประจำเดือน]]หรือขณะตั้ง[[ครรภ์]]
* '''[[เอนไซม์]]''' นักวิทยาศาสตร์พบว่าเอนไซม์ Dnase-1 มีส่วนทำให้เกิดโรคเอสแอลอี เอนไซม์ตัวนี้ทำหน้าที่ทำลายสายป่าน DNA หลังจากการตายของเซลล์ จากการทดลองในหนูพบว่าหากการทำลายสายป่าน DNA ขัดข้องร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาต่อต้านระบบภูมิคุ้มกัน และขณะเดียวกันในการศึกษาผู้ป่วยโรคเอสแอลอี 10 ราย พบว่ามี 4 รายที่เอนไซม์ Dnase-1 ทำงานน้อยลง
* '''[[​กรรมพันธุ์]]''' พบว่าผู้ป่วยโรคเอสแอลอี 10% มีพ่อแม่หรือญาติป่วยเป็นโรคนี้ด้วย และพบเพียง 5% ของเด็กที่เป็นโรคนี้มีแม่ป่วยเป็นโรคเอสแอลอี
 
== ปัจจัยเสริม ==
ปัจจัยเสริมที่ทำให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคเอสแอลอี​หรือมีโอกาสจะเป็นมีอาการกำเริบขึ้น​เช่น​แสงแดด​หรือแสง[[อัลตราไวโอเลต]]​การตั้งครรภ์​ยา​หรือสารเคมีบางชนิด​การออกกำลังกาย​หรือทำงานหนัก​ภาวะเครียดทางจิตใจ​